กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสงเปือย
วันที่อนุมัติ 1 มกราคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 8,450.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ๑. นายบุญทศประจำถิ่น ๒. นางดรรชนีเขียนนอก ๓. นางระพีพรรณสว่างแสง ๔. นางสาวสุวรรณีภูมูล ๕. นางสาวพจนีย์ฝุ่นทอง
พี่เลี้ยงโครงการ นางระพีพรรณ สว่างแสง
พื้นที่ดำเนินการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสงเปือย
ละติจูด-ลองจิจูด 15.651196,104.248134place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 5 ก.ค. 2566 21 ก.ค. 2566 8,450.00
รวมงบประมาณ 8,450.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

“มะเร็งปากมดลูก” นับเป็นภัยร้ายที่พบมากในหญิงไทยรองลงมาจากมะเร็งเต้านม หลักๆ แล้วมะเร็งปากมดลูกนั้นมีสาเหตุมาจากการติดเชื้อไวรัส HPV (Human Papilloma Virus) จากสถิติ ปี 2563 พบว่าในประเทศไทยมีผู้ป่วยใหม่ปีละกว่า 9,000 ราย เสียชีวิตปีละ 4,700 ราย หรือเท่ากับว่าในแต่ละวันจะมีหญิงไทยเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกถึง 13 คน ระบบสาธารณสุขไทยไม่นิ่งนอนใจกับปัญหาดังกล่าวนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ที่เปิดให้หญิงไทยทุกคนทุกสิทธิสามารถเข้ารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกกันฟรีๆ โดยใช้เทคนิคที่เรียกว่า “แปปสเมียร์ (Pap Smear)” และอีกหนึ่งเทคนิคนั่นก็คือ “HPV DNA Test” ที่จะมีประสิทธิภาพความแม่นยำสูงกว่าเทคนิคแรก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสงเปือย ได้เริ่มโครงการเชิงรุก “รณรงค์การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA Test” สำหรับหญิงไทยอายุ 30 - 60 ปีทุกสิทธิ ในปี 2563 – 2565เป็นต้นมา ผลการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก คิดเป็นร้อยละ 41.06 เป้าหมายมากกว่าร้อยละ 60ซึ่งยังต้องดำเนินการค้นหากลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่ได้รับการตรวจ มารับการตรวจเพิ่ม เพื่อเป็นการค้นหาผู้ป่วยมะเร็งในระยะเริ่มต้น ไม่ให้เกิดการลุกลามของโรค ซึ่งเป็นไปตามมติที่ประชุมคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพ (บอร์ด สปสช.) ที่เห็นชอบให้เพิ่ม “สิทธิประโยชน์การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA Test” ทดแทนการตรวจด้วยวิธี Pap smearโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสงเปือย ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้แก่กลุ่มสตรีดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เพื่อเพิ่มเข้าถึงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกของหญิงไทยทุกคนและส่งต่อเพื่อการตรวจวินิจฉัยและการรักษาอย่างครบวงจร

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 8,450.00 0 0.00
5 - 14 ก.ค. 66 สำรวจและขึ้นทะเบียน 0 0.00 -
20 ก.ค. 66 จัดอบรมเชิงปฎิบัติการให้แก่สตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปี 0 8,450.00 -
21 ก.ค. 66 ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม 0 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ๓๐ -๖๐ ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมากกว่าร้อยละ 60
  2. สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ๓๐ -70 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมและตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่าง ถูกต้องเป็นประจำทุกเดือน
  3. สตรีที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อตรวจวินิจฉัยโดยสูติแพทย์และได้รับการรักษาตามมาตรฐาน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 ต.ค. 2566 15:17 น.