กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการแหล่งท่องเที่ยวปลอดภัยไร้แหล่งโรค ไร้ขยะ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม
รหัสโครงการ 67-l5313-02-001
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มจิตอาสารักษ์สิ่งแวดล้อม
วันที่อนุมัติ 8 ธันวาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 31 สิงหาคม 2567
งบประมาณ 69,926.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางภคพร น้ำเยื้อง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.842,99.826place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ , แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 69,926.00
รวมงบประมาณ 69,926.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สถานการณ์การจัดการขยะภายในครัวเรือนในเขตพื้นที่องค์การบริหารสวนตำบลละงู จำนวน 5,003 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 91.70 แบ่งเป็น 1)การจัดให้มีภาชนะรองรับขยะ จำนวน 3,739 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 74.74 2)การใช้บริการเก็บขยะในพื้นที่ (ชุมชน เอกชน หรือบริการสาธารณะโดยรัฐ) จำนวน 2,348 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 46.93 3)การนำขยะไปทิ้งที่อื่น (ที่ทำงาน นอกพื้นที่บ้าน ที่ทิ้งขยะในชุมชน) จำนวน 175 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 3.50 4)การฝัง จำนวน 382 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 7.64 5)การเผา จำนวน 1,276 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 25.50 6)การทำปุ๋ยหมัก จำนวน 92 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 1.84 7)การทำน้ำหมัก จำนวน 43 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 0.86 8)การคัดแยกขยะ จำนวน 926 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 18.51 9)งดการใช้ถุงพลาสติก โฟม และวัสดุที่ทำให้เกิดขยะ โดยใช้สิ่งอื่นทดแทน (ถุงผ้า ปิ่นโต ใบตองเพื่อบรรจุอาหาร) จำนวน 194 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.88 10)ลดการใช้ถุงพลาสติก โฟม และวัสดุที่ทำให้เกิดขยะ จำนวน 262 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 5.24 11)การใช้ซ้ำ จำนวน 238 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 4.76 12) การแปรรูปใช้ใหม่ จำนวน 40 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 0.80 (ข้อมูลจาก รายงานข้อมูลระดับบุคคลและครอบครัว (TCNAP) 12 พฤศจิกายน 2564)
สถานการณ์การจัดการขยะภายในครัวเรือนในเขตพื้นที่หมู่ที่ 1 ตำบลละงู ดังนี้ จำนวน 460 ครัวเรือน แบ่งเป็น 1)การจัดให้มีภาชนะรองรับขยะ จำนวน 363 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 78.91 2)การใช้บริการเก็บขยะในพื้นที่ (ชุมชน เอกชน หรือบริการสาธารณะโดยรัฐ) จำนวน 183 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 39.78 3)การนำขยะไปทิ้งที่อื่น (ที่ทำงาน นอกพื้นที่บ้าน ที่ทิ้งขยะในชุมชน) จำนวน 18 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 3.91 4)การฝัง จำนวน 52 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 11.30 5)การเผา จำนวน 249 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 54.13 6)การทำปุ๋ยหมัก จำนวน 6 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 1.30 7)การทำน้ำหมัก จำนวน 5 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 1.09 8)การคัดแยกขยะ จำนวน 31 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 6.74 9)งดการใช้ถุงพลาสติก โฟม และวัสดุที่ทำให้เกิดขยะ โดยใช้สิ่งอื่นทดแทน (ถุงผ้า ปิ่นโต ใบตองเพื่อบรรจุอาหาร) จำนวน 24 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 5.22 10)ลดการใช้ถุงพลาสติก โฟม และวัสดุที่ทำให้เกิดขยะ จำนวน 27 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 5.87 11)การใช้ซ้ำ จำนวน 22 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 4.78 12) การแปรรูปใช้ใหม่ จำนวน 2 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 0.43 (ข้อมูลจาก รายงานข้อมูลระดับบุคคลและครอบครัว (TCNAP) 12 พฤศจิกายน 2564)
สถานการณ์การจัดการขยะภายในครัวเรือนในเขตพื้นที่หมู่ที่ 2 ตำบลละงู ดังนี้ จำนวน 245 ครัวเรือน แบ่งเป็น 1)การจัดให้มีภาชนะรองรับขยะ จำนวน 167 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 68.16 2)การใช้บริการเก็บขยะในพื้นที่ (ชุมชน เอกชน หรือบริการสาธารณะโดยรัฐ) จำนวน 136 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 55.51 3)การนำขยะไปทิ้งที่อื่น (ที่ทำงาน นอกพื้นที่บ้าน ที่ทิ้งขยะในชุมชน) จำนวน 4 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 1.63 4)การฝัง จำนวน 10 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 4.08 5)การเผา จำนวน 29 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 11.84 6)การทำปุ๋ยหมัก จำนวน 6 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 2.45 7)การทำน้ำหมัก จำนวน 2 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 0.82 8)การคัดแยกขยะ จำนวน 21 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 8.57 9)งดการใช้ถุงพลาสติก โฟม และวัสดุที่ทำให้เกิดขยะ โดยใช้สิ่งอื่นทดแทน (ถุงผ้า ปิ่นโต ใบตองเพื่อบรรจุอาหาร) จำนวน 11 ราย คิดเป็นร้อยละ 4.49 10)ลดการใช้ถุงพลาสติก โฟม และวัสดุที่ทำให้เกิดขยะ จำนวน 8 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 3.27 11)การใช้ซ้ำ จำนวน 10 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 4.08 (ข้อมูลจาก รายงานข้อมูลระดับบุคคลและครอบครัว (TCNAP) 12 พฤศจิกายน 2564)
สถานการณ์การจัดการขยะภายในครัวเรือนในเขตพื้นที่หมู่ที่ 14 ตำบลละงู ดังนี้ จำนวน 577 ครัวเรือน แบ่งเป็น 1)การจัดให้มีภาชนะรองรับขยะ จำนวน 364 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 63.08 2)การใช้บริการเก็บขยะในพื้นที่ (ชุมชน เอกชน หรือบริการสาธารณะโดยรัฐ) จำนวน 157 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 27.21 3)การนำขยะไปทิ้งที่อื่น (ที่ทำงาน นอกพื้นที่บ้าน ที่ทิ้งขยะในชุมชน) จำนวน 17 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 2.95 4)การฝัง จำนวน 86 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 14.90 5)การเผา จำนวน 214 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 37.09 6)การทำปุ๋ยหมัก จำนวน 17 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 2.95 7)การทำน้ำหมัก จำนวน 8 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 1.39 8)การคัดแยกขยะ จำนวน 57 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 9.88 9)งดการใช้ถุงพลาสติก โฟม และวัสดุที่ทำให้เกิดขยะ โดยใช้สิ่งอื่นทดแทน (ถุงผ้า ปิ่นโต ใบตองเพื่อบรรจุอาหาร) จำนวน 16 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.77 10)ลดการใช้ถุงพลาสติก โฟม และวัสดุที่ทำให้เกิดขยะ จำนวน 52 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 9.01 11)การใช้ซ้ำ จำนวน 41 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 7.11 12) การแปรรูปใช้ใหม่ จำนวน 8 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 1.39 (ข้อมูลจาก รายงานข้อมูลระดับบุคคลและครอบครัว (TCNAP) 12 พฤศจิกายน 2564)
ในตำบลละงูมีแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นพื้นที่ชายฝั่งทะเลอยู่ในพื้นที่หมู่ที 1 หมู่ที่ 2 และหมู่ที่ 14 รวมเป็น ระยะทางยาวประมาณ 4.5 กิโลเมตร ซึ่งจากการสำรวจและจากข้อมูลการจัดเก็บขยะมูลฝอยขององค์การบริหารส่วนตำบลละงู พบว่า ในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวชายฝั่งทะเลของตำบลละงู มีมูลฝอยขยะตกค้างที่มีการจัดการยังไม่ถูกต้องเฉลี่ย 1 กิโลกรัม/ความยาวชายฝั่ง 1 เมตร สร้างภาพลักษณ์ที่ไม่ดีต่อตำบลละงู อีกทั้งยังเป็นมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งหากขยะเหล่านี้ไม่ได้รับการจัดการที่ถูกต้อง จะไหลลงสู่ทะเลกลายเป็นขยะทะเลและสร้างความเสียหายต่อระบบนิเวศน์ทางทะเลต่อไป จากสถานการณ์ดังกล่าว กลุ่มจิตอาสารักษ์สิ่งแวดล้อม ร่วมกับ 4+1 องค์กรหลักในพื้นที่ ได้แก่ ผู้นำท้องที่ ผู้นำท้องถิ่น หน่วยงานราชการ ภาคประชาชน และผู้นำศาสนา จึงจัดทำโครงการแหล่งท่องเที่ยวสบายใจ ไร้ขยะ ใส่ใจสิ่งแวดล้อมขึ้น เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนให้เกิดความตระหนักในการจัดการขยะชุมชนโดยเฉพาะแหล่งท่องเที่ยว ซึ่งถือเป็นสถานที่สำคัญของตำบลละงู และนำมาสู่การพัฒนาเพื่อสร้างชุมชนตำบลละงูให้น่าอยู่ มีสิ่งแวดล้อมที่ถูกต้องเหมาะสมตามหลักสุขาภิบาล

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจด้านสุขาภิบาล และด้านสุขภาพให้แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ในการจัดการขยะแหล่งท่องเที่ยวและในชุมชน

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจด้านสุขาภิบาล และด้านสุขภาพในการจัดการขยะแหล่งท่องเที่ยวร้อยละ 80

100.00
2 เพื่อป้องกันโรคและการเกิดพาหะนำโรคที่เกิดจากขยะตกค้าง

-แหล่งท่องเที่ยวในหมู่ที่ 1 ,2 และ 14 มีถังขยะแยกประเภท ร้อยละ 100 -เกิดแกนนำในการดูแลการจัดการขยะในแหล่งท่องเที่ยวครบทั้ง 3 พื้นที่เป้าหมาย คือ ม.1 ม.2 และ ม.14

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 150 69,926.00 0 0.00
5 ม.ค. 67 อบรมสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย 50 13,946.00 -
12 ม.ค. 67 อบรมกลุ่มแกนนำหมู่ที่ 2 จำนวน 50 คน 50 13,600.00 -
19 ม.ค. 67 อบรมแกนนำหมู่ที่ 14 จำนวน 50 คน 50 13,600.00 -
2 ก.พ. 67 ปรับสภาพแวดล้อมแหล่งท่องเที่ยวเพื่อลดขยะตกค้างและลดแหล่งแพร่กระจายเชื้อโรค 0 27,780.00 -
31 ก.ค. 67 ติดตามประเมินผลและถอดบทเรียน 0 1,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.จำนวนขยะตกค้างในแหล่งท่องเที่ยวลดลงอย่างต่อเนื่อง ทำให้แหล่งท่องเที่ยวสะอาด ไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์นำโรค 2.เกิดแกนนำในการดูแลจัดการขยะในชุมชนอย่างชัดเจนและยั่งยืน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 ธ.ค. 2566 13:39 น.