กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุชุมชนบูรพา ตำบลยามู ปี256ุ7
รหัสโครงการ 67-L8284-02-07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชุมชนบูรพา
วันที่อนุมัติ 2 เมษายน 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 26,300.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสุขภาพจิต , แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก
21.43
2 ร้อยละของผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะซึมเศร้า
42.86
3 จำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน (คน)
1.00
4 จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว(คน)
2.00
5 จำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน(คน)
2.00
6 ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปฏิบัติตัวในการดูแลสุขภาพของตนเอง
30.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันผู้สูงอายุเป็นประชากรกลุ่มใหญ่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขี้น เนื่องจากความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์และสาธารณสุขทำให้ประชากรมีอายุขัยยืนยาวขึ้น จำนวนผู้สูงอายุจึงเพิ่มมากขึ้น ชุมชนบูรพา มีผู้สุงอายุจำนวน 40 คนและพบว่ามีปัญหาด้านสุขภาพได้แก่ ภาวะความจำเสื่อม หลงลืม โรคความดันโลหิตสูงเบาหวานและเสี่ยงต่อภาวะหกล้ม ซึ่งส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของตนเอง จึงจำเป็นต้องมีการเตรียมความพร้อมของกลุ่มเป้าหมายคือต้วผู้สูงอายุเอง ผู้ดูแลผู้สูงอายุ และสมาชิกที่อยู่ร่วมในครอบครัวเดียวกัน ให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพ การฟื้นฟูสุขภาพ และการป้องกันความเสี่ยงที่พบได้บ่อยได้แก่ ภาวะซึมเศร้า ภาวะสมองเสื่อม การพลัดตกหกล้ม

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก

ร้อยละของผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก

21.43 15.00
2 เพื่อลดผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะซึมเศร้า

ร้อยละของผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะซึมเศร้า

42.86 10.00
3 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน

ผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน มีจำนวนลดลง

2.00 1.00
4 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว

ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว ลดลง

2.00 2.00
5 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน

จำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน มีจำนวนเพิ่มขึ้น

1.00 1.00
6 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปฏิบัติตัวในการดูแลสุขภาพของตนเอง

ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการปฏิบัติตัวในการดูแลสุขภาพของตนเอง มากกว่าร้อยละ 80

30.00 80.00
7 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงที่สำคัญ(ภาวะสมองเสื่อม,ภาวะหกล้มและภาวะซึมเศร้า)

เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงที่สำคัญ(ภาวะสมองเสื่อม,ภาวะหกล้มและภาวะซึมเศร้า) มากกว่าร้อยละ 80

0.00 80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
1 ประชุมทีมงาน และ ร่วมออกแบบกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 18,400.00 0 0.00
1 เม.ย. 67 - 31 ก.ค. 67 ประชุมเชิงปฏิบัติการคัดกรองสุขภาพและให้ความรู้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ 0 18,400.00 -
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 5,950.00 0 0.00
1 - 30 เม.ย. 67 จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ 0 5,000.00 -
1 เม.ย. 67 - 31 พ.ค. 67 จัดตั้งชมรมผู้สูงอายุชุมชนบูรพา 0 0.00 -
1 - 31 ส.ค. 67 ติดตาม และประเมินผล 0 950.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจสามารถดูแลสุขภาพของตนเองเบี้องต้นได้ 2.ผู้สูงอายุได้รับการดูแลที่ดีจากครอบครัวและชุมชน 3.ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี สามารถอยู่ในครอบครัวและสังคมได้อย่างเป็นสุข 4.ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมของชุมชนมีการแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพตนเองและเพื่อนสมาชิก 5.ชมรมผู้สูงอายุมีกิจกรรมต่อเนื่อง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 ธ.ค. 2566 04:50 น.