กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ คัดแยกขยะ เพื่อโรงเรียนสะอาด ปราศจากโรคภัย
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนส่งเสริมศาสนา
วันที่อนุมัติ 26 ธันวาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2566 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 15,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายเชษฐ บินบอสอ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.04528215,100.3926905place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 108 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ขยะเป็นปัญหาส าคัญที่ทุกประเทศต้องเร่งด าเนินการป้องกันแก้ไข เนื่องจากขยะมูลฝอยทั้งจากครัวเรือนและ โรงงานอุตสาหกรรมมีปริมาณเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งเป็นปัญหาเพิ่มความยุ่งยาก ให้กับผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง ในทุกองค์กร และทุกชุมชน ขยะมูลฝอยยังส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนทั้งทางตรงและทางอ้อม เนื่องจากขยะมูล ฝอยเป็นแหล่งอาหารและแหล่งเพาะพันธ์ของแมลงน าโรคหลายชนิด อีกทั้งยังก่อให้เกิดกลิ่นเหม็น เหตุร าคาญ บ้านเมือง สกปรก ขาดความสวยงาม เป็นที่รังเกียจของผู้พบเห็น องค์การบริหารส่วนต าบลสท่าช้าง ได้แสวงหาความร่วมมือกับ โรงเรียน ตระหนักถึงความส าคัญของปัญหาการจัดการขยะและน าหลัก 3Rs คือ REDUCE (การลดการใช้) REUSE (การ ใช้ซ้ า)และ RECYCLE (การน ามาแปรรูปใหม่)มาใช้ให้เกิดประโยชน์ก็จะสามารถช่วยลดปริมาณขยะได้วิธีการดังกล่าวจะ เป็นทางออกที่ดีในสภาวะปัจจุบันที่จะสามารถก าจัดขยะได้อย่างครบวงจร และยังได้รับผลประโยชน์จากการก าจัดขยะนี้ อีกมากมาย อาทิ การสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่จากกระบวนการก าจัดและผลิต การสร้างจิตส านึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ให้แก่ชุมชน การสร้างรายได้เสริม การสร้างความสามัคคี และความริเริ่มสร้างสรรค์ให้แก่เยาวชน การคัดแยกขยะ คือแนวทางหนึ่ง ที่จะท าให้เกิดการคัดแยกขยะอย่างเป็นระบบและมีการบริหารจัดการขยะรี ไซเคิลอย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งช่วยปลูกฝังจิตส านึกให้นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนคนในชุมชน รู้จักและมีส่วนร่วม ในการจัดการขยะและรักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ โรงเรียนส่งเสริมศาสนา และบริเวณโดยรอบ โรงเรียน มีความสะอาด สวยงาม น่าอยู่ น่าอาศัย ต่อไป ดังนั้นโรงเรียนส่งเสริมศาสนาได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว และเห็นว่าทุกภาคส่วนของสังคมควรมีบทบาทใน การแก้ปัญหาร่วมกัน ไม่ปล่อยให้การแก้ไขปัญหาขยะล้นในพื้นที่ เป็นหน้าที่ของหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่ง ซึ่งจะท าให้ ปัญหาดังกล่าวเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จึงได้จัดท าโครงการคัดแยกขยะของโรงเรียนส่งเสริมศาสนา แต่เนื่องด้วยทางโรงเรียนยัง ขาดงบประมาณในส่วนนี้อยู่ จึงได้เขียนโครงการฯขอความอนุเคราะห์งบประมาณของส านักงานหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ(สปสช.)จากเทศบาลต าบลท่าช้าง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ และคัดแยก ประเภทของขยะรีไซเคิลได้อย่างถูกต้อง

นักเรียนทุกคนได้รับความรู้เกี่ยวกับการแยก ประเภทของขยะรีไซเคิลที่ถูกต้อง

2 เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจในการก าจัดขยะแต่ ละประเภท อย่างถูกวิธีและเหมาะสม

นักเรียนนำความรู้ไปใช้ในการคัดแยกประเภทของขยะ

3 เพื่อสร้างความมีระเบียบวินัยจิตส านึก และความ ช านาญในการคัดแยกขยะ

เพิ่มความช านาญในการคัดแยกขยะ

4 เพื่อเพิ่มจ านวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะ ในชุมชน

จ านวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.อบรมให้ความรู้เรื่อง คัดแยกขยะ เพื่อโรงเรียนสะอาดปราศจากโรคภัย 2.จัดซื้ออุปกรณ์คัดแยกขยะ
3.จัดทำตะแกรงแยกประเภทของขยะ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา และประชาชนเกิดแนวคิดที่ดีต่อการจัดการขยะมูลฝอย และเข้าใจ คุณค่าของสิ่งต่างๆ ว่าวัสดุบางประเภท สามารถน าไปใช้ประโยชน์ได้หลายครั้ง หรือสามารถเปลี่ยนเป็นเงินได้
  2. นักเรียนมีจิตส านึกยั้งคิดก่อนที่จะทิ้งขยะ
  3. ได้แนวทาง และรูปแบบการจัดกิจกรรมเพื่อปลูกจิตส านึกด้านอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่ สอดคล้องกับสภาพปัญหาของท้องถิ่นอย่างยั้งยืน
  4. การมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    จากภูมิปัญญาของบุคลากร หน่วยงานและองค์กรในท้องถิ่น
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 28 ธ.ค. 2566 15:45 น.