กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการอบรมผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน ปี 2567 รพ.สต.บ้านกูบู
รหัสโครงการ 67-L2486-1-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกูบู
วันที่อนุมัติ 5 มีนาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2567 - 31 กรกฎาคม 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 5,400.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางน้ำฝน พรหมน้อย
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันทั่วโลกให้ความสำคัญกับการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมากขึ้นเนื่องจากสภาวะเป็นอยู่และวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปทำให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น จากสภาพสังคมปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว ทำให้วิถีชีวิตความเป็นอยู่เปลี่ยนตามสภาพจากเดิมทำให้พฤติกรรมของแต่ละคนเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ไม่ถูกต้อง เช่นพฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองอันนำไปสู่การทำให้ผู้ป่วยเกิดภาวะทนทุกข์ทรมานและทำให้เกิดการสูญเสียทั้งทรัพย์สินและชีวิต ข้อมูลทางระบาดวิทยาพบว่าจำนวนผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังทั่วโลกเพิ่มขึ้นอย่างมากมายการดูแลโรคไม่ติดต่อเรื้อรังนั้นไม่ได้จำกัดระบบการทำงานต่างๆของร่างกายเริ่มจะเสื่อมโทรมลงและมีโอกาสที่จะเจ็บป่วยได้ง่ายมากขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคเรื้อรัง ได้แก่โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคไขมันในเลือดผิดปกติโรคหลอดเลือดหัวใจ แต่ขึ้นอยู่กับการดูแลตนเองของผู้ป่วยและการตรวจภาวะแทรกซ้อน นอกจากยังมีการติดตามเยี่ยมผู้ป่วยที่บ้าน เพื่อจะได้ทราบปัญหา ของการดูแลตนเอง และร่วมหารือ หาแนวทางการแก้ไขปัญหาสุขภาพ กับผู้ป่วยแต่ละราย ปัจจุบันผู้ป่วยที่มารับบริการดูแล รักษาโรคเรื้อรังดังกล่าวมีจำนวนมาก และมากขึ้นเรื่อยๆ แต่ผู้ป่วยส่วนใหญ่ ก็ยังไม่ได้รับบริการ ดูแลภาวะแทรกซ้อนได้อย่างครบถ้วนและการรักษาส่วนใหญ่ ยังเน้นโรงพยาบาลเป็นศูนย์กลาง ทำให้ไม่เกิดความยั่งยืนในระบบการดูแลสุขภาพผู้ป่วยและครอบครัวมีศักยภาพ ในการดูแลตนเองน้อยแต่ในความเป็นจริงการที่สามารถให้ประชาชน กลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วยตระหนักในการดูแลตนเองมีความรู้สร้างทัศนคติ จะสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และปฎิบัติตัวให้ห่างจากการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยเพื่อลดงบประมาณในการรักษาผู้ป่วยได้เป็นจำนวนมาก

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีความรู้ในการดูแลตนเองจากภาวะแทรกซ้อนได้อย่างถูกต้อง

1.ผู้ป่วยมีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคเรื้อรัง ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมร้อยละ 80

0.00
2 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนทาง ตา ไต เท้า ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน /ความดันโลหิตสูง

2.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่มี CVD risk>=20 เปอร์เซ็นต์ หลังได้รับการปรับเปลี่ยนความเสี่ยงCVD risk ลดลง

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 5,400.00 0 0.00
1 - 31 ก.ค. 67 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในการปฎิบัติตัวในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน 0 5,400.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีความรู้ในการดูแลตนเองจากภาวะแทรกซ้อนได้อย่างถูกต้อง
  2. ลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนทาง ตา ไต เท้า ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน /ความดันโลหิตสูง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 ม.ค. 2567 00:00 น.