กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความรู้ด้านอาหารและโภชนาการ เพื่อสุขภาพที่ดีตาดีกาบะฮ์รุลวาซีอะฮ์ หมู่ 1 บ้านปาตา ประจำปี 2567
รหัสโครงการ 67-L8420-02-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด(ตาดีกา)บะฮ์รุลวาซีอะฮ์ บ้านปาตา
วันที่อนุมัติ 1 เมษายน 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 27 กันยายน 2567
งบประมาณ 17,315.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอับดุลการิง บาราเฮง
พี่เลี้ยงโครงการ นางวรรณาพร บัวสุวรรณ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.895936,101.37225place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 147 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะผอม
12.40
2 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะอ้วน
3.36
3 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะเตี้ย
17.31
4 ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัดเป็นประจำ (มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์)
70.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

อาหารเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญของการมีสุขภาพดีด้านโภชนาการ การให้เด็ก ผู้ปกครอง และครูผู้สอนตระหนักถึงความสำคัญของการบริโภคอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการจึงเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่ง เพื่อเป็นการกระตุ้นปลูกจิตสำนึกให้เด็ก ผู้ปกครอง และครูผู้สอนเกิดการเรียนรู้ถึงประโยชน์และคุณค่าด้านสุขภาพที่เหมาะสม เอาใจใส่ตนเอง มีพลานามัยสมบูรณ์ รักสะอาด ปราศจากโรค มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี ดังนั้น ศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด(ตาดีกา)บะฮ์รุลวาซีอะฮ์ หมู่ 1 บ้านปาตา ได้เล็งเห็นถึงปัญหาในเรื่องการบริโภคอาหารที่ไม่มีประโยชน์และไม่ถูกต้องตามหลักโภชนาการทำให้เกิดโรคภัยต่างๆ เช่น โรคความดันโลหิตสูง ,โรคไต, เบาหวาน และโรคอื่นๆ แล้วยังพบว่าการเจ็บป่วย ค่อนข้างมาก เช่น การได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ น้ำหนักน้อย ดังนั้นเพื่อให้ได้อาหารที่มีคุณภาพ ปลอดภัย และมีคุณค่าทางโภชนาการที่เหมาะสม และเกิดพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ก็ต้องพิถีพิถันในการเลือกใช้เครื่องปรุงในการปรุงอาหาร โดยการเลือกใช้เครื่องปรุงที่มีโซเดียมต่ำ, น้ำตาลต่ำ หรืออาจใช้วัสดุธรรมชาติอย่างอื่นที่ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพทดแทน ในการปรุงอาหารทุกชนิด เพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็ก ผู้ปกครอง และครูผู้สอนอย่างยั่งยืน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับด้านอาหารและโภชนาการสำหรับเด็กนักเรียน

ผู้เข้าร่วมรับการอบรมได้รับโครงการส่งเสริมความรู้ด้านอาหารและโภชนาการ เพื่อสุขภาพที่ดีในโรงเรียนตาดีกา

40.00 60.00
2 เพื่อส่งเสริมสุขภาพเด็กเรื่องพฤติกรรมด้านบริโภคอาหารในเด็กนักเรียนโรงเรียนตาดีกา

เด็กนักเรียนโรงเรียนตาดีกา ได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนถูกหลักด้านโภชนาการ

40.00 60.00
3 เพื่อลดภาวะผอม ในเด็กอายุ 0-5 ปี

ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะผอม

12.40 5.00
4 เพื่อลดภาวะอ้วน ในเด็กอายุ 0-5 ปี

ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะอ้วน

3.36 0.00
5 เพื่อลดภาวะเตี้ยในเด็กอายุ 0-5 ปี

ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะเตี้ย

17.31 10.00
6 เพื่อลดคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ (มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์)

ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัดเป็นประจำ (มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์)

70.00 50.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 441 18,215.00 0 0.00
1 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 สำรวจภาวะโภชนาการของเด็ก โดยการชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูง 147 1,700.00 -
1 พ.ค. 67 - 30 ต.ค. 67 อบรมให้ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการ เพื่อสุขภาพที่ดี 147 16,515.00 -
1 ก.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 ติดตามผลการจัดอบรมกิจกรรมในโรงเรียนตาดีกา 147 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าร่วมรับการอบรมได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารและโภชนาการสำหรับเด็กนักเรียน
2.เด็กนักเรียนได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนถูกหลักด้านโภชนาการ
3.เด็กนักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดี และไม่มีเด็กนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ เป็นต้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 ม.ค. 2567 15:24 น.