กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก บ้านสนใหม่
รหัสโครงการ 2567-L5314-2-09
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขบ้านสนใหม่
วันที่อนุมัติ 16 มกราคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2567 - 30 สิงหาคม 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 10,450.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ 1. นางห่อดียะ หมีนแดง 2. นายวรินทร หมีนแดง 3. นายฉาหรี สงบ 4. นางสาวสุกัญญา มีนวัฒนกุล 5. นางเจ๊ะโสน หมีนแดง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลแหลมสน อำเภอละงู จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากการดำเนินโครงการควบคุม และป้องกันโรคไข้เลือดออก ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม 2566 พบว่าผลที่ได้จากการดำเนินโครงการทำให้อัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกหมู่ที่ 6 บ้านสนใหม่ ในปี 2566 พบจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 1 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 196.85 ต่อแสนประชากรประชากร กิจกรรมเดินรณรงค์ใส่ทรายที่มีฟอสเป็นประจำ และต่อเนื่องทุกเดือน ส่งผลให้ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในบ้าน (HI) ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (CI) และค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในสถานที่ราชการ เช่นโรงเรียน มัสยิด ลดลงไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ค่าดัชนีของลูกน้ำยุงลาย (HI) ในหมู่ที่ 6 บ้านสนใหม่ มีแนวโน้มค่าลดลงอย่างต่อเนื่องทุกเดือน โดยเดือนที่พบค่าลูกน้ำยุงลายสูงสุดคือเดือน กรกฎาคม พบร้อยละ 9.06 เดือนที่พบลูกน้ำยุงลายน้อยที่สุดคือเดือน ตุลาคม พบร้อยละ 7.04 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือ ค่า HI น้อยกว่า ร้อยละ 10 แต่ยังพบปัญหาอุปสรรคในการทำงาน เช่นกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานควบคุม และป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ยังมีค่อนข้างน้อย โดยยังขาดความร่วมมือจากประชาชน ในพื้นที่ กระบวนการเดินรณรงค์เพื่อสำรวจ และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายตามครัวเรือนประชาชนยังมองว่าเป็นบทบาทหลักของ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเท่านั้น และในหมู่บ้านยังขาดกติกาชุมชน หรือมาตรการทางสังคมที่คนในชุมชนหมู่บ้าน คิดร่วมกัน ยอมรับและถือปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน

ดังนั้น ทางอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน บ้านสนใหม่ จึงเล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงอยากต่อยอดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมที่แท้จริงในชุมชน หมู่บ้าน มีคณะกรรมการป้องกัน และควบคุมโรคในหมู่บ้าน เพื่อช่วยกันเฝ้าระวังโรคภัยในหมู่บ้านต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลายไม่ให้เกินเกณฑ์มาตรฐานสาธารณสุข

ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน โรงเรียน มัสยิด ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด

0.00
2 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก

ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายทุกหลังคาเรือนในหมู่บ้านไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด

0.00
3 เพื่อส่งเสริมการสร้างมาตรการทางสังคมหรือกติกาชุมชนในเรื่องการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก

มีมาตรการทางสังคม หรือกติกาชุมชนอย่างน้อย ๑ เรื่อง

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 10,450.00 0 0.00
10 - 22 มี.ค. 67 กิจกรรมประชุมชี้แจงให้ความรู้พร้อมทั้งคืนข้อมูลสถานการณ์ ให้ชุมชนรับทราบ เพื่อกำหนดกิจกรรมในการแก้ปัญหาร่วมกัน และแต่งตั้งคณะกกรมกรรมการป้องกันควบคุมโรคระดับหมู่บ้าน พร้อมทั้งส่งเสริมหามาตรการทางสังคมในการป้องกันควบคุมโรค 0 1,250.00 -
1 เม.ย. 67 - 31 ส.ค. 67 กิจกรรมรณรงค์ใส่ทรายทีมีฟอส และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในทุกหมู่บ้าน ตามแผนการณรงค์ 0 7,800.00 -
1 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 กิจกรรมประชาสัมพันธ์ความรู้เกี่ยวกับการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก 0 1,400.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 ก.พ. 2567 14:27 น.