กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ห้วยแก้ว


“ โครงการเคลื่อนไหวทางกาย(รำวงย้อนยุค) เพื่อสุขภาพ ตำบลห้วยแก้ว ”

ตำบลห้วยแก้ว อำเภอบึงนาราง จังหวัดพิจิตร

หัวหน้าโครงการ
ชมรมผู้สุงอายุตำบลห้วยแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการเคลื่อนไหวทางกาย(รำวงย้อนยุค) เพื่อสุขภาพ ตำบลห้วยแก้ว

ที่อยู่ ตำบลห้วยแก้ว อำเภอบึงนาราง จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ 501 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเคลื่อนไหวทางกาย(รำวงย้อนยุค) เพื่อสุขภาพ ตำบลห้วยแก้ว จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลห้วยแก้ว อำเภอบึงนาราง จังหวัดพิจิตร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ห้วยแก้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเคลื่อนไหวทางกาย(รำวงย้อนยุค) เพื่อสุขภาพ ตำบลห้วยแก้ว



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเคลื่อนไหวทางกาย(รำวงย้อนยุค) เพื่อสุขภาพ ตำบลห้วยแก้ว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลห้วยแก้ว อำเภอบึงนาราง จังหวัดพิจิตร รหัสโครงการ 501 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ห้วยแก้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

คุณภาพชีวิตเป็นเป้าหมายหลักของสังคม คือ ประชาชนมีสุขภาพอนามัยดีทั้งทางด้านร่างการและจิตใจทุกเพศ ทุกวัย จากการศึกษาข้อมูลพบว่าประชากรผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทั้งด้านปริมาณและสัดส่วนต่อประชากร จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 -2559 ) กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดนโยบายให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรงตามวัย ขยายโอกาสดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า ดังนั้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายจะต้องร่วมมืออย่างจริงจังและต่อเนื่อง ในการเตรียมความพร้อมให้ผู้สูงอายุทุกคนตลอดจนบุคคลในครอบครัวและชุมชน เนื่องจากจำนวนและสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุมีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นเช่นนี้เนื่องมาจากการพัฒนาด้านสาธารณสุขและทางการแพทย์ ทำให้อัตราการตายลดลง ผู้สูงอายุจึงมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น แต่ผู้สูงอายุก็ยังได้รับผลกระทบจากการเสื่อมถอยของร่างกายตามวัย รวมทั้งผลของโรคเรื้อรังหรืออุบัติเหตุจึงนำไปสู่ความถดถอยของร่างกาย เกิดภาวะพึ่งพา ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้หรือช่วยเหลือตนเองได้น้อย หรืออาจมีอาการสมองเสื่อม ทำให้ต้องอาศัยพึ่งพาเป็นภาระแก่ผู้ดูแล เกิดภาวะทุพพลภาพในที่สุด สิ่งเหล่านี้ทำให้ผู้สูงอายุดำรงชีวิตอยู่อย่างไม่มีความสุข ผู้สูงอายุจึงควรให้ความสนใจดูแลสุขภาพให้สมบรูณ์แข็งแรงมีคุณภาพชีวิตที่ดี ป้องกันการเกิดโรคต่าง ๆ รวมทั้งฟื้นฟูสุขภาพเมื่อมีภาวะของโรค และควบคุมให้ภาวะของโรคเหล่านั้นมีอาการคงที่หรือหายไป โดยมุ่งเน้นให้ผู้สูงอายุทำกิจกรรมโดยการออกกำลังกายอย่างเช่น กิจกรรมรำวงย้อนยุค เพื่อที่จะให้ผู้สูงอายุได้ขยับ เคลื่อนไหวร่างกาย ออกท่าทางไปตามจังหวะของเพลงหรือกิจกรรมนั้นๆ ให้ผู้สูงอายุได้พบประพูดคุยกันเป็นกลุ่ม เพื่อที่จะทำให้ผู้สูงอายุมีชีวิตชีวีมากขึ้นและอยู่ร่วมกันอย่างมีคุณค่า สามารถทำประโยชน์ให้แก่สังคม และมีความสุขในบั้นปลายชีวิต           ดังนั้น ชมรมผู้สูงอายุจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ
  2. เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. วางแผนเตรียมการดำเนินกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกาย
  2. กิจกรรมการส่งเสริมการออกกำลังกาย (รำวงย้อนยุค)
  3. ติดตามและประเมินผลการดำเนินการตามโครงการตามระยะเวลาที่กำหนด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ร้อยละของผู้สูงอายุ มีกิจกรรมการออกกำลังกาย (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์) ผุ้สูงอายุมีสุขภาพทางกายและจิตดีขึ้น เพิ่มพื้นที่ในการจัดกิจกรรมครบ จำนวน 8 หมู่บ้าน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. วางแผนเตรียมการดำเนินกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกาย

วันที่ 1 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมวางเเผนเพื่อจัดทำโครงการ
  2. ประชาสัมพันธ์กับกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าร่วมโครงการ
  3. เขียนโครงการเพื่อเสนอขอรับงบประมาณ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้แผนการดำเนินกิจกรรม 2.ได้จำนวนผู้ที่จะเข้าร่วมทำกิจกรรม
  2. เสนอโครงการขอรับงบประมาณ

 

40 0

2. กิจกรรมการส่งเสริมการออกกำลังกาย (รำวงย้อนยุค)

วันที่ 1 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ดำเนินกิจกรรม รำวงย้อนยุคสัปดาห์ละ 2 ครั้ง คือวันพุธ และวันพฤหัสบดี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      1.  ประชาชนได้ออกกำลังกายสัปดาห์ละ 2 ครั้ง  และผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงและมีสุขภาพจิตที่ดี             2.  ประชาชนและผู้สูงอายุ จะห่างไกลโรคภัยไข้เจ็บและลดจำนวนการไปรักษาสุขภาพที่สถานพยาบาล

 

40 0

3. ติดตามและประเมินผลการดำเนินการตามโครงการตามระยะเวลาที่กำหนด

วันที่ 1 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ใช้แบบสอบถามความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมส่วนใหญ่พึ่งพอใจในกิจกรรม ร้อยละ 98

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
65.00 65.00

 

2 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ (2) เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) วางแผนเตรียมการดำเนินกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกาย (2) กิจกรรมการส่งเสริมการออกกำลังกาย (รำวงย้อนยุค) (3) ติดตามและประเมินผลการดำเนินการตามโครงการตามระยะเวลาที่กำหนด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเคลื่อนไหวทางกาย(รำวงย้อนยุค) เพื่อสุขภาพ ตำบลห้วยแก้ว จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ 501

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมผู้สุงอายุตำบลห้วยแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด