กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพ ปี 2567
รหัสโครงการ 2567 - L3309 - 2 - 11
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านหวัง
วันที่อนุมัติ 26 เมษายน 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 18,900.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายบุญเสริม สงแทน ประธานชมรม อสม.รพ.สต.บ้านหวัง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันโรคปวดเข่าหรือโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ เป็นโรคหนึ่งที่เป็นปัญหาสุขภาพสำคัญระดับโลก องค์การอนามัยโลกคาดการณ์ว่าจะมีผู้ป่วยกระดูกและข้อเพิ่มขึ้นเป็น 570 ล้านคน ในปีพ.ศ. 2563 ปัจจุบันสังคมไทยกำลังก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยมีผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศ จากการศึกษา พบว่ามีผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่า ร้อยละ 43.9 โรคข้อเข่าเสื่อม เป็นปัญหาสุขภาพและปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย เช่นกัน เนื่องจากก่อให้เกิดความทุกข์ทรมาน เป็นอุปสรรคในการเข้าสังคม ผู้ป่วยที่เป็นโรคข้อเข่าเสื่อมส่วนใหญ่ต้องรับประทานยากลุ่มNSAIDs เพื่อใช้บรรเทาอาการปวด ซึ่งยากลุ่มจะทำให้ผู้สูงอายุเกิดความเสี่ยงในการป่วยเป็นโรคอื่นๆตามมา เช่น โรคกระเพาะอาหาร โรคไต สาเหตุของการเจ็บป่วย เกิดจาก 1.อายุมากมีโอกาสเป็นข้อเข่าเสื่อมมาก เนื่องจากอายุการใช้งานข้อเข่ามาก พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย 2-3 เท่า 2. คนที่มีรูปร่างอ้วน มีโอกาสเป็นข้อเข่าเสื่อมมากกว่าคนผอม 3. การใช้งาน และท่าทาง ในการทำกิจกรรมที่ทำให้ข้อเข่าต้องรับน้ำหนักมาก เช่น ยกของหนัก นั่งพับเพียบ 4. โครงสร้างเข่าผิดรูปตั้งแต่กำเนิด เช่น เข่าโก่ง 5. เคยประสบอุบัติเหตุเกี่ยวกับข้อเข่า 6.โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ , เก๊าท์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปากล่อ พบว่ามีผู้สูงอายุที่เป็นโรคปวดเข่าหรือข้อเข่าเสื่อมเข้ารับบริการรักษาเพิ่มขึ้นทุกปี จากการสำรวจข้อมูล ปีงบประมาณ 2562 พบว่า มีผู้ป่วยเป็นโรคปวดเข่าหรือข้อเข่าเสื่อม จำนวน 78 ราย เป็นผู้สูงอายุ จำนวน 32 ราย ใช้ยากลุ่มNSAIDs ในการรักษา (ร้อยละ 81 ) (ฐานข้อมูลเวรสถิติ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหวัง) สุขภาพช่องปากถือเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สำคัญกับสุขภาพทางด้านร่างกาย อาทิ การสูญเสียฟันจำนวนมากจะลดประสิทธิภาพการเคี้ยวอาหาร ส่งผลกระทบต่อระบบทางเดินอาหาร การดำเนินชีวิตประจำวันและสุขภาพจิต จากรายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศ ครั้งที่ ๘ ประเทศไทย พ.ศ. 2560 ในกลุ่มอายุ๖๐ ปี ขึ้นไป พบว่าร้อยละ 56.1 ของผู้สูงอายุ มีฟันอยู่ในสภาพใช้งานได้๒๐ ซี่ และผู้สูงอายุมีฟันแท้คู่สบ๔ คู่ ขึ้นไป ร้อยละ 40.2ทำให้ประสิทธิภาพการบดเคี้ยวอาหารลดลงชัดเจน แม้ว่ากลุ่มผู้สูงอายุตอนต้นจะมีจำนวนมากกว่าครึ่ง มีฟันถาวร 20 ซี่ แต่ฟันถาวรที่เหลือนั้นยังมีปัญหารอยโรคและความผิดปกติในช่องปากที่จำเป็นต้องได้รับการดูแลที่เหมาะสม เพื่อป้องกันการลุกลามที่นำไปสู่ความเจ็บปวดและการสูญเสียฟัน ปัญหาที่สำคัญได้แก่ การสูญเสียฟันโดยเฉพาะการสูญเสียฟันทั้งปากในผู้สูงอายุ 60-74 ปี พบร้อยละ 8.7 แต่เมื่ออายุ 80-85 ปี เพิ่มสูง ถึงร้อยละ 31.0 ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตด้านการบดเคี้ยวอย่างมาก และจากกการสำรวจสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุ หมู่ 3 และ ๔ ตำบลสมหวัง อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จำนวน144 คน พบว่า ผู้สูงอายุมีฟันแท้ใช้งานได้ ๒๐ ซี่ขึ้นไป ร้อยละ 38.19เมื่อเทียบกับเป้าหมายทันตสุขภาพแห่งชาติ ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ต่ำ และผู้สูงอายุยังขาดความรู้ความเข้าใจ และการปฏิบัติตัวในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองอย่างเหมาะสม อันจะนำไปสู่การสูญเสียฟันเมื่ออายุเพิ่มขึ้น จากสภาพปัญหาดังกล่าวชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลสมหวัง จึงได้จัดทำโสุขภาพช่องปากถือเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สำคัญกับสุขภาพทางด้านร่างกาย อาทิ การสูญเสียฟันจำนวนมากจะลดประสิทธิภาพการเคี้ยวอาหาร ส่งผลกระทบต่อระบบทางเดินอาหาร การดำเนินชีวิตประจำวันและสุขภาพจิต จากรายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศ ครั้งที่ ๘ ประเทศไทย พ.ศ. 2560 ในกลุ่มอายุ๖๐ ปี ขึ้นไป พบว่าร้อยละ 56.1 ของผู้สูงอายุ มีฟันอยู่ในสภาพใช้งานได้๒๐ ซี่ และผู้สูงอายุมีฟันแท้คู่สบ๔ คู่ ขึ้นไป ร้อยละ 40.2ทำให้ประสิทธิภาพการบดเคี้ยวอาหารลดลงชัดเจน แม้ว่ากลุ่มผู้สูงอายุตอนต้นจะมีจำนวนมากกว่าครึ่ง มีฟันถาวร 20 ซี่ แต่ฟันถาวรที่เหลือนั้นยังมีปัญหารอยโรคและความผิดปกติในช่องปากที่จำเป็นต้องได้รับการดูแลที่เหมาะสม เพื่อป้องกันการลุกลามที่นำไปสู่ความเจ็บปวดและการสูญเสียฟัน ปัญหาที่สำคัญได้แก่ การสูญเสียฟันโดยเฉพาะการสูญเสียฟันทั้งปากในผู้สูงอายุ 60-74 ปี พบร้อยละ 8.7 แต่เมื่ออายุ 80-85 ปี เพิ่มสูง ถึงร้อยละ 31.0 ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตด้านการบดเคี้ยวอย่างมาก และจากกการสำรวจสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุ หมู่ 3 และ ๔ ตำบลสมหวัง อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จำนวน144 คน พบว่า ผู้สูงอายุมีฟันแท้ใช้งานได้ ๒๐ ซี่ขึ้นไป ร้อยละ 38.19เมื่อเทียบกับเป้าหมายทันตสุขภาพแห่งชาติ ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ต่ำ และผู้สูงอายุยังขาดความรู้ความเข้าใจ และการปฏิบัติตัวในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองอย่างเหมาะสม อันจะนำไปสู่การสูญเสียฟันเมื่ออายุเพิ่มขึ้น จากปัญหาดังกล่าวชมอาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.บ้านหวังจึง ได้จัดทำโครงการผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพ ปี 2567 ขึ้นเพื่อแก้ปัญหาอาการปวดเข่า ข้อเข่าเสื่อมและปัญหาสุขภาพช่องปากในผู้สูงในอายุ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องโรคในช่องปากและการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง

กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้เรื่องโรคในช่องปากและการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง ร้อยละ 80

90.00 50.00
2 เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถการพอกเข่าได้ด้วยตนเอง

กลุ่มเป้าสามารถพอกเข่าได้ด้วยตนเอง ร้อยละ 80

50.00 20.00
3 ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปาก

กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 90

80.00 50.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 18,900.00 0 0.00
1 ก.พ. 67 - 30 ก.ย. 67 จัดอบรมผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมและปวดเข่า 0 4,600.00 -
1 ก.พ. 67 - 30 ก.ย. 67 กิจกรรมสาธิตการพอกเข่า 0 5,000.00 -
1 ก.พ. 67 - 30 ก.ย. 67 กิจกรรมให้ความรู้ผู้สูงอายุเกี่ยวกับสุขภาพในช่องปาก 0 9,300.00 -
1 ก.พ. 67 - 30 ก.ย. 67 ตรวจสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ 0 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุได้รับความรู้เรื่องโรคในช่องปากและการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง 2.ผู้สูงอายุสามารถพอกเข่าตนเองได้ 3.ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากทุกคน 4.ผู้สุงอายุมีสุขภาพด้านร่างกายและจิตใจที่ดีขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 8 ก.พ. 2567 10:54 น.