กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจ เครือข่ายร่วมสร้าง RDU คู่ร้านชำคุณภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567
รหัสโครงการ 67-L3046-01-07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะนังยง
วันที่อนุมัติ 15 กุมภาพันธ์ 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 10,950.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวนิรินทรา ภัยชำนาญ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.813,101.402place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

ระบุ

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ภาวะโลกไร้พรมแดนในปัจจุบันจะเห็นได้ว่า ผลิตภัณฑ์สุขภาพทั้งในและนอกประเทศ สามารถเข้าถึงยังผู้บริโภคในทุกระดับได้อย่างง่าย ทั้งชุมชนเมืองไปจนกระทั่งเขตชนบท การสื่อสารมวลชนเข้ามามีบทบาทอย่างมากในกระบวนการตลาด การโฆษณาประชาสัมพันธ์ จะยิ่งส่งเสริมการบริโภคในสังคมอย่างมาก ทำให้ผู้บริโภคเกิดความต้องการที่จะบริโภคเกินกว่าความต้องการที่แท้จริง ไม่ว่าจะเป็นการบริโภคอาหารหรือยาอย่างฟุ่มเฟือย ทำให้มูลค่าการใช้ยาของประเทศไทยมีแนวโน้มสูงขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ถือเป็นหน่วยบริการภาครัฐที่อยู่ใกล้ชิดชุมชนในระดับต้นๆหากบุคลากรผู้ปฏิบัติงาน สามารถดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข (คบส.)ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก็จะมีส่วนช่วยให้ผู้ป่วยและผู้บริโภคในชุมชน ได้รับความปลอดภัยจากการบริโภคยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆ รวมทั้งยังสามารถส่งเสริมให้ผู้บริโภคมีภูมิต้านทานในการบริโภค ไม่ให้ถูกหลอกลวงจากผลิตภัณฑ์หรือบริการต่างๆที่ไม่เหมาะสมได้อีกด้วย จากการสำรวจปัญหาในชุมชนที่เกี่ยวกับงาน คบส. คปสอ.ยะหริ่ง ปี 2561 พบว่า ปัญหาที่พบมากที่สุดเรียงลำดับได้ ดังนี้ (1) ร้านชำจำหน่ายอาหารพร้อมบริโภคไม่มีเลข อย./วัน เดือน ปี ผลิต หมดอายุ คิดเป็น ร้อยละ 100 ของปัญหาทั้งหมด นั่นคือ ทุกตำบลในอำเภอยะหริ่งพบปัญหาเดียวกันนี้ (2) ผู้ประกอบการไม่มีองค์ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ คิดเป็น ร้อยละ 83.3 (3) ร้านชำจำหน่ายยาอันตราย/ยาชุด/ยาปฏิชีวนะในชุมชน คิดเป็น ร้อยละ 77.8(4) ร้านชำจำหน่ายอาหารที่ไม่มีฉลาก/เครื่องหมาย อย คิดเป็น ร้อยละ 50 (5) ร้านชำจำหน่ายอาหารนำเข้าจากมาเลเซีย เป็นต้น จากปัญหาข้างต้นจะเห็นได้ว่าร้านชำเป็นหนึ่งในแหล่งกระจายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ปลอดภัยในชุมชน และมีผลต่อผู้บริโภคในชุมชน เนื่องจากสะดวก มีความคุ้นเคย จึงจำเป็นต้องสร้างความตระหนักรู้แก่ผู้ประกอบการร้านชำและประชาชนให้มีองค์ความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคเชื่อมต่อกับการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Rational Drug Use : RDU) โดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายในชุมชน เพื่อให้ประชาชนได้รับความปลอดภัยจากการบริโภคยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างปลอดภัย อีกทั้ง ส่งผลให้ชุมชนสามารถจัดการตนเองด้านงานคุ้มครองผู้บริโภค ตามสโลแกนงานคุ้มครองผู้บริโภค คปสอ.ยะหริ่ง ที่ว่า “ผู้บริโภคยุคใหม่ รู้ซื้อ รู้ใช้ รู้ระวังภัย ผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน”

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ผู้ประกอบการร้านชำ และ อสม. ได้เข้าร่วมการอบรม

ร้อยละ 100 ของผู้ประกอบการร้านชำ และ อสม. ได้เข้าร่วมการอบรม

100.00
2 ร้านชำได้รับการประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน

ร้อยละ 100 ร้านชำได้รับการประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน

100.00
3 ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับการเยี่ยมบ้านเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ

ร้อยละ 100 ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับการเยี่ยมบ้านเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพจากการสุ่ม

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณพ.ค. 67มิ.ย. 67ก.ค. 67ส.ค. 67ก.ย. 67
1 พัฒนาร้านชำต้นแบบในชุมชน ตามเกณฑ์คุณภาพ(14 พ.ค. 2567-14 พ.ค. 2567) 1,750.00          
2 เยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 10 ราย(14 พ.ค. 2567-14 พ.ค. 2567) 400.00          
3 กิจกรรมลงพื้นที่สำรวจเฝ้าระวัง การขายยาอันตรายในร้านชำทั้งหมดในชุมชน(31 พ.ค. 2567-31 พ.ค. 2567) 400.00          
4 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านชำและ อสม.(1 มิ.ย. 2567-30 ก.ย. 2567) 5,400.00          
5 คืนข้อมูลผลการดำเนินงานแก่เครือข่ายในชุมชน(1 มิ.ย. 2567-30 ก.ย. 2567) 3,000.00          
รวม 10,950.00
1 พัฒนาร้านชำต้นแบบในชุมชน ตามเกณฑ์คุณภาพ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 1,750.00 0 0.00
31 พ.ค. 67 พัฒนาร้านชำต้นแบบในชุมชน ตามเกณฑ์คุณภาพ 0 1,750.00 -
2 เยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 10 ราย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 400.00 0 0.00
15 พ.ค. 67 เยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 10 ราย 0 400.00 -
3 กิจกรรมลงพื้นที่สำรวจเฝ้าระวัง การขายยาอันตรายในร้านชำทั้งหมดในชุมชน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 2 400.00 0 0.00
15 พ.ค. 67 กิจกรรมลงพื้นที่สำรวจเฝ้าระวัง การขายยาอันตรายในร้านชำทั้งหมดในชุมชน 2 400.00 -
4 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านชำและ อสม. กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 35 5,400.00 0 0.00
30 พ.ค. 67 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคเชื่อมโยงร้านชำคุณภาพ รวมถึงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล แก่ผู้ประกอบการร้านชำ , อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน 35 5,400.00 -
5 คืนข้อมูลผลการดำเนินงานแก่เครือข่ายในชุมชน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 3,000.00 0 0.00
15 พ.ค. 67 คืนข้อมูลผลการดำเนินงานแก่เครือข่ายในชุมชน 0 3,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้ประกอบการร้านชำ อสม. มีความรู้เกี่ยวกับองค์ความรู้ด้านคุ้มครองผู้บริโภค การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหาร และยาที่ปลอดภัย
  2. ร้านชำในตำบล ปลอดยาอันตรายและผลิตภัณฑ์สุขภาพอันตราย
  3. ผู้ประกอบการร้านชำ และ อสม. สามารถเผยแพร่ความรู้ด้านคุ้มครองผู้บริโภค การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหาร และยาที่ปลอดภัย แก่ประชาชนได้
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 ก.พ. 2567 14:49 น.