กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตวัยทำงานตำบลลำปำ ประจำปี 2567
รหัสโครงการ 67-L3361-1-8
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลลำปำ
วันที่อนุมัติ 16 กุมภาพันธ์ 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 13,832.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายวิรัช รักนิ่ม
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.651,100.141place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสุขภาพจิต
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ท่ามกลางสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อสภาพต่อสภาพความเป็นอยู่ของทุกคนทุกระดับ ต้องเผชิญกับปัญหาในการปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับสังคมในปัจจุบัน ทั้งในด้านความคิด ความเข้าใจ และค่านิยมต่างๆซึ่งก่อให้เกิดความเครียดและสุขภาพเเย่ลง ขาดสัมพันธ์ภาพในสังคมและเบื่อหน่ายในชีวิต สุขภาวะเสื่อมโทรมลง มีโรคทางกายเพิ่มขึ้น สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อร่างกายและจิตใจทั้งสิ้นและกำลังกลายเป็นปัญหาทางสังคม หากประชาชนมีภูมิคุ้มกันโรคที่ดีขึ้นอัตราการป่วยจากโรคเรื้อรังอาจลดลง ประสิทธิภาพการทำงานจะสูงขึ้น สังคมน่าอยู่ มีความยิ้มแย้มและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน หลายคนมองข้ามการออกกำลังกายและออกกำลังใจ และอาจประสบกับปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆตามมาเช่นโรคหัวใจ ความเครียด ภาวะซึมเศร้าฯ เช่นความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคอ้วน มะเร็ง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.ประชาชนวัยทำงานมีวิธีการเฝ้าระวังตนเองและวิธีแก้ไขอย่างถูกต้องเมื่อเกิดภาวะเครียด

1.มีความรู้ความเข้าใจและได้รับการคัดกรองปัญหาทางด้านความเครียดไม้น้อยกว่าร้อยละ 70

2 2.ประชาชนวัยทำงานมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น

2.มีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 100 นาที/ สัปดาห์

3 3.ประชาชนวัยทำงานได้ผ่อนคลายความเครียดและความเหนื่อยล้าในการทำงาน

3.มีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมโครงการในครั้งนี้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการ

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณเม.ย. 67พ.ค. 67มิ.ย. 67ก.ค. 67ส.ค. 67ก.ย. 67
1 1.กิจกรรมทางใจ -ประเมินความเครียด(2 ครั้ง)(18 มี.ค. 2567-18 มี.ค. 2567) 0.00            
2 2.กิจกรรมทางกาย -ออกกำลังกายสัปดาห์ละ 2วัน เป็นเวลา 3 เดือน(18 มี.ค. 2567-18 มี.ค. 2567) 0.00            
รวม 0.00
1 1.กิจกรรมทางใจ -ประเมินความเครียด(2 ครั้ง) กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
2 2.กิจกรรมทางกาย -ออกกำลังกายสัปดาห์ละ 2วัน เป็นเวลา 3 เดือน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนวัยทำงานมีวิธีการเฝ้าระวังตนเองและวิธีแก้ไขอย่างถูกต้องเมื่อเกิดภาวะเครียด 2.ประชาชนวัยทำงานมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น 3.ประชาชนวัยทำงานได้ผ่อนคลายความเครียดและความเหนื่อยล้าในการทำงาน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 ก.พ. 2567 14:39 น.