กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตแบบองค์รวมศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา
รหัสโครงการ L7250-3-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา
วันที่อนุมัติ 21 กุมภาพันธ์ 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 39,700.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางพรรณี พรหมอ่อน ประธานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.197649,100.600637place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุต้องทำให้ครบทั้ง 5 มิติคือการสร้างเสริมสุขภาพกาย – จิต เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม นันทนาการ และการใช้เทคโนโลยีด้านดิจิตอล เป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้ผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิต ทำให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี มีรายได้อยู่ในสังคมอย่างมีศักดิ์ศรี มีความสุข ไม่เป็นภาระแก่ลูกหลาน ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ เทศบาลนครสงขลา เห็นความสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตใน 5 มิติ จึงจัดให้มีการอบรมส่งเสริมสุขภาพเชิงปฏิบัติการ เพื่อให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุทั้ง 5 มิติอันประกอบด้วย มิติที่ 1 การสร้างเสริมสุขภาพกาย – จิต
มิติที่2 ด้านเศรษฐกิจ
มิติที่ 3 ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
มิติที่ 4 นันทนาการ
มิติที่ 5 การใช้เทคโนโลยีติจิตอล

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี ฝึกการจำเป็นระบบ และสามารถร่วมทำงานเป็นหมู่คณะได้

ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมอบรมร้อยละ 80 ลดภาวะโรคซึมเศร้าได้

80.00
2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องอาหารและโภชนาที่ส่งผลต่อการมีสุขภาพที่ดี

ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการสามารถทำอาหารเพื่อสุขภาพทานเองได้

100.00
3 เพื่อให้ผู้สูงอายุก้าวทันเทคโนโลยีด้านดิจิตอล และสามารถนำความรู้ที่ได้มามาปรับใช้เพื่อลดความวิตกกังวล ลดความเครียดได้

ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมอบรมร้อยละ 80 รู้เท่าทันเทคโนโลยี รู้เท่าทันมิจฉาชีพ ลดความวิตกกังวล

80.00
4 เพื่อให้ผู้สูงอายุใช้ดนตรีบำบัด ฝึกสมอง ฝึกการจำ และมีการเคลื่อนไหวร่างกายด้วยเสียงเพลง ช่วยลดปัญหาโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุ

ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมอบรมร้อยละ 80 ใช้ดนตรีบำบัด ห่างไกลจากโรค และอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณมี.ค. 67เม.ย. 67พ.ค. 67มิ.ย. 67ก.ค. 67ส.ค. 67ก.ย. 67
1 การอบรมให้ความรู้เรื่องการทำอาหารเพื่อสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุและการใช้เทคโนโลยีดิจิตอล(1 มี.ค. 2567-30 ก.ย. 2567) 8,600.00              
2 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการลีลาศเพื่อสุขภาพ(1 มี.ค. 2567-30 ก.ย. 2567) 31,100.00              
รวม 39,700.00
1 การอบรมให้ความรู้เรื่องการทำอาหารเพื่อสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุและการใช้เทคโนโลยีดิจิตอล กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 60 8,600.00 0 0.00
1 มี.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 1,800.00 -
1 มี.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่าอาหารกลางวัน 30 1,800.00 -
1 มี.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่าตอบแทนวิทยากร 0 3,000.00 -
1 มี.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่าชุดอุปกรณ์สาธิตในการทำอาหาร 0 2,000.00 -
2 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการลีลาศเพื่อสุขภาพ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 60 31,100.00 0 0.00
1 มี.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 5,400.00 -
1 มี.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่าอาหารกลางวัน 30 5,400.00 -
1 มี.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่าตอบแทนวิทยากร 0 18,000.00 -
1 มี.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่าชุดอุปกรณ์สาธิตในการทำอาหาร 0 2,000.00 -
1 มี.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่าจัดทำรูปเล่ม 0 300.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้สูงอายุมีสุขภาพกาย สุขภาพจิต ดูแลตนเองได้ ห่างไกลโรคซึมเศร้า
  2. ผู้สูงอายุเข้าใจในเรื่องการทำอาหารเพื่อสุขภาพและนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
  3. ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
  4. ผู้สูงอายุสมารถรับรู้ข่าวสารจากสื่อต่างๆและรู้ทันกลโกงของมิจฉาชีพ
  5. ผู้สูงอายุได้มีกิจกรรมต่อเนื่องและยั่งยืน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 มี.ค. 2567 10:34 น.