กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการควบคุมฟันผุในกลุ่มเด็กนักเรียนระดับชั้นอนุบาล เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2567
รหัสโครงการ 67-L6895-01-13
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
วันที่อนุมัติ 27 ธันวาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2566 - 31 กรกฎาคม 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 31 กรกฎาคม 2567
งบประมาณ 11,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.41,99.519place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

ระบุ

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อควบคุมป้องกันโรคฟันผุไม่ให้มีการลุกลาม

 

2 เพื่อให้เด็กได้เข้าถึงบริการทันตกรรมอุดฟันอย่างง่ายเพื่อลดอัตราการเกิดฟันผุ

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
รวม 0 0.00 0 0.00
  1. ขั้นเตรียมการ 1.1 สำรวจปัญหา เพื่อค้นหากลุ่มเป้าหมายในการดำเนินงาน ในโรงเรียนเทศบาลวัดตรังคภูมิพุทธาวาส โรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษี และโรงเรียนประชาวิทยา
    1.2 จัดทำแผนงานเพื่อให้คณะอนุกรรมการกลั่นกอง 1.3 เสนอแผนงาน/โครงการต่อคณะกรรมการกองทุนฯ เพื่อขออนุมัติงบประมาณ 1.4 วางแผนการดำเนินการ จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ 1.5 ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ทีมทันตบุคลากรจากโรงพยาบาลกันตัง
  2. ขั้นดำเนินการ 2.1 ออกให้บริการตรวจสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียน เพื่อวางแผนการรักษา 2.2 สรุปและวิเคราะห์ผลการตรวจสุขภาพช่องปาก 2.3 ออกให้บริการอุดฟันอย่างง่าย ในเด็กที่มีปัญหาฟันผุ(ที่ยังอุดได้) ในโรงเรียน
  3. ขั้นติดตามและประเมินผล 3.1 ติดตามผลการดำเนินกิจกรรมอุดฟันอย่างง่ายตามแผนการดำเนินงาน
    3.2 สรุปและวิเคราะห์ผลการยึดติดของวัสดุอุดฟัน หลังจากให้บริการไปแล้ว 1 เดือน 3.3 สรุปผลและรายงานผลการดำเนินโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เด็กนักเรียนที่มีปัญหาฟันผุ ได้รับการควบคุมฟันผุไม่ให้มีการลุกลามของโรค อันจะช่วยให้มีสภาวะสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น
  2. เด็กนักเรียนที่ได้รับการอุดฟัน มีฟันใช้งานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 มี.ค. 2567 13:19 น.