กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มผู้ป่วยสู้ภัยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปี 2567 (ประเภทที่ 1)
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกระทูน-พิปูนล้นเกล้า
วันที่อนุมัติ 14 มีนาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 20,618.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายวีรวัฒน์ ล่าโยค
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.953,100.03place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 77 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันประชาชนป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะความดันโลหิตสูง เบาหวาน หัวใจและหลอดเลือด ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง โดยเฉพาะเรื่องอาหารการกิน การออกกำลังกาย และการจัดการความเครียด ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ไม่สามารถควบคุมพฤติกรรมได้ ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่มีอันตรายถึงแก่ชีวิต หรือไม่ก็เกิดความพิการทางด้านร่างกาย เช่น อัมพฤกษ์ อัมพาต บั่นทอนคุณภาพชีวิตทั้งผู้ป่วย ครอบครัวและชุมชน       ในปี 2566 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านกะทูน-พิปูนล้นเกล้า ได้ดำเนินการตรวจรักษาผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจำนวน 268 คน สามารถควบคุมความดันโลหิตได้ดี คิดเป็นร้อยละ 41.80 ไม่สามารถคุมความดันโลหิตได้ คิดเป็นร้อยละ 58.20 โรคเบาหวานจำนวน 186 คน มีจำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี (A1c

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑.เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ป่วย ตามแนวทาง ๓ อ ๒ ส 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วย ตามแนวทาง ๓ อ ๒ ส เพื่อให้มีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น

๑. ร้อยละ ๑๐๐  ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามแนวทาง  ๓ อ ๒ ส 2. ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนของโรค

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น การเกิดภาวะไตวาย เส้นเลือดในสมองแตก ตีบ ตัน อัมพฤกษ์ อัมพาตได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 มี.ค. 2567 11:53 น.