กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหา กรณีเกิดโรคระบาด เมื่อเกิดภัยพิบัติในพื้นที่
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าหิน
วันที่อนุมัติ 5 เมษายน 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 30,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสุภาวดี มงคลบุตร
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3960 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

ระบุ

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การดำเนินงานกองทุนประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น มีวัตถุประสงค์เพื่อขออรับการสนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขในการเสริมสร้างสุขภาพ การป้องกัน การฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิแบบเชิงรุก ที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตของประชาชนในชุมชนหรือท้องถิ่น และตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 ข้อ10(5) กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ให้คณะกรรมการกองทุนพิจารณาอนุมัติจ่ายเงินกองทุน เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขได้ตามความจำเป็นเหมาะสมและทันต่อสถานการณ์ ดังนั้นเพื่อการดำเนินงานมีความสอดคล้องตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เมื่อเข้าสู่ฤดูฝนตำบลท่าหิน จะได้รับความเสียหายจากวาตภัย อุทกภัย เนื่องจากพื้นที่ตำบลท่าหิน ติดกับทะเลสาบสงขลา น้ำจะท่วมขังเป็นระยะเวลานาน ประชาชนจะเป็นโรคที่มาพร้อมกับน้ำ คือโรคน้ำกัดเท้า เป็นอาการทางผิวหนังที่พบบ่อยในช่วงที่เกิดน้ำท่วม เกิดจากการระคายเคืองของโรคผิวหนังบริเวณเท้าที่แช่อยู่ในน้ำที่สกปรกเป็นเวลานาน หรือมีความชื้นที่เท้าอยู่ตลอดเวลาหากปล่อยให้มีการอักเสบอย่างต่อเนื่อง องค์การบริหารส่วนตำบลท่าหิน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการป้องกันโรคหลังเกิดภัยพิบัติ (อุทกภัย) จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหา กรณีเกิดโรคระบาด เมื่อเกิดภัยพิบัติในพื้นที่ขึ้นเพื่อป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดหลังภัยพิบัติ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดหลังภัยพิบัติในพื้นที่ตำบลท่าหิน

ประชาชนในตำบลท่าหินที่ได้รับผลกระทบภัยพิบัติได้รับการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค รักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสมรรถภาพในระหว่างและหลังสถานการณ์เกิดภัยพิบัติตามความเหมาะสมตามความจำเป็นและเหมาะสมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผู้ได้รับผลกระทบในพื้นที่

70.00 90.00
2 เพื่อช่วยเหลือและสนับสนุนการดำเนินงานในการดูแลสุขภาพของประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติในพื้นที่ตำบลท่าหิน

ประชาชนในพื้นที่ตำบลท่าหินได้รับการช่วยเหลือและสนับสนุนการดำเนินงานในการดูแลสุขภาพของประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติในพื้นที่ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผู้ได้รับผลกระทบในพื้นที่

70.00 90.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 30,000.00 0 0.00
1 พ.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 สำรวจครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบหลังเกิดภัยพิบัติ 0 0.00 -
1 พ.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 ป้องกันโรคภายหลังการเกิดภัยพิบัติ (น้ำท่วม) 0 30,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในตำบลท่าหินที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติได้รับการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค รักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสรรถภาพตามความจำเป็นและเหมาะสม 2.ประชาชนตำบลท่าหินได้รับการช่วยเหลือได้ทันท่วงที

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 มี.ค. 2567 00:00 น.