กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการนวัตกรรมหมอนสมุนไพรคลายเครียดในผู้สูงอายุตำบลท่าเรือ ประจำปีงบประมาณ 2567
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพตำบลท่าเรือ
วันที่อนุมัติ 26 มีนาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 26 มีนาคม 2567 - 31 กรกฎาคม 2567
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 6,718.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางลดาวัลย์ เตาวะโต
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันในกลุ่มผู้สูงอายุพบบ่อยในการรักษา และมีภาวะเครียด โดยญาติหรือผู้ดูแลไม่สามารถดูแลผู้สูงอายุได้ตลอดเวลา เนื่องจากมีภาระด้านการประกอบอาชีพ ซึ่งผู้สูงอายุที่พบมักจะมีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ รวมถึงข้อติดบริเวณเข่า ทำให้เกิดความไม่สุขสบาย วิตกกังวลจึงจะทำให้มีภาวะเครียด นอนไม่หลับ
ดังนั้น ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพตำบลท่าเรือ จึงได้จัดทำโครงการนวัตกรรมหมอนสมุนไพรคลายเครียดในผู้สูงอายุตำบลท่าเรือ ประจำปีงบประมาณ 2567 เพื่อดูแลผู้สูงอายุ โดยการใช้สมุนไพรในกลุ่มผู้สูงอายุที่มีปัญหานอนไม่หลับ ลดการใช้ยาแก้ปวด และทำให้สุขภาพกายและสุขภาพใจดีขึ้นด้วย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุเกี่ยวกับหมอนสมุนไพรคลายเครียด

ร้อยละ 70 ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับหมอนสมุนไพรคลายเครียด

0.00
2 เพื่อลดอาการคลายเครียดในผู้สูงอายุ

ร้อยละ 70 ลดอาการคลายเครียดในผู้สูงอายุ

0.00
3 เพื่อนำนวัตกรรมหมอนสมุนไพรไปใช้ในชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุได้

ร้อยละ 70 สามารถนำนวัตกรรมหมอนสมุนไพรไปใช้ในชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุได้

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 6,718.00 0 0.00
26 มี.ค. 67 - 31 ก.ค. 67 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ 0 3,000.00 -
26 มี.ค. 67 - 31 ก.ค. 67 กิจกรรมสาธิตวิธีการทำ และฝึกปฏิบัติทำหมอนสมุนไพรพิชิตปวด 0 3,718.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุหรือผู้ดูแลผู้สูงอายุได้รับความรู้ในการดูแลลดอาการเครียดของผู้สูงอายุ 2.ผู้สูงอายุหรือผู้ดูแลผู้สูงอายุสามารถนำสมุนไพรมาใช้ในการรักษาสุขภาพได้ 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุลดอาการคลายความเครียดได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 มี.ค. 2567 00:00 น.