กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ ชุมชนร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ป้องกันโรคไข้เลือดออก ชุมชนวชิราทะเลหลวงดอกรักษ์ ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์
รหัสโครงการ L7250-2-16
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชุมชนวชิราทะเลหลวงดอกรักษ์ ศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์
วันที่อนุมัติ 3 เมษายน 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 3 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 33,880.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางเบญจวรรณ เอี่ยมสำอางค์ ตำแหน่ง ประธาน อสม.ชุมชนวชิราทะเลหลวงดอกรักษ์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.206845,100.596174place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 230 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศมานานแล้ว โดยมียุงลายเป็นพาหะเนื่องจากโรค นี้มีแนวโน้มการระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปี และพบว่าประชากรที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกมากที่สุด ได้แก่ กลุ่มเด็กวัยเรียนที่มีอายุตั้งแต่ ๕-๑๔ ปี แต่ปัจจุบันยังพบผู้ป่วยไข้เลือดในผู้ใหญ่และมีการเกิดโรคตลอดทั้งปีอีกด้วย จากการวิเคราะห์ข้อมูลผู้ป่วยไข้เลือดออกเขตชุมชน PCU ชลาทัศน์ พื้นที่ 10 ชุมชน ในเขตเทศบาลนครสงขลา ดังนี้

ปี พ.ศ. จำนวนผู้ป่วย อัตราป่วยต่อแสนประชากร 2564 3/9,487 31.62 2565 7/9,534 73.42 2566 53/8,056 650.00

จากข้อมูลดังกล่าวอาสาสมัครสาธารณสุขศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ จึงได้จัดทำโครงการชุมชนร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ป้องกันโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2567 เพื่อรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชุนทั้ง 10 ชุมชนที่รับผิดชอบ และให้จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลงน้อยกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลังอีกด้วย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการป้องกันควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญ ในชุมชน
  1. ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อม และ ค่า HI <  10 (< 10%)
10.00
2 2. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของโรคติดต่อในชุมชน
  1. อัตราป่วยไข้เลือดออกในพื้นที่น้อยกว่า 56 ต่อประชากรแสนคน (< 0.056 %)
0.06
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณเม.ย. 67พ.ค. 67มิ.ย. 67ก.ค. 67ส.ค. 67ก.ย. 67
1 1. กิจกรรมรณรงค์กำจัด ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย BIG CLEANING ในชุมชน ทุก 3 เดือน(3 เม.ย. 2567-30 ก.ย. 2567) 30,980.00            
2 2. กิจกรรมสาธิตนวัตกรรมควบคุมโรค (ลูกเป็ดปราบยุง) โดย อสม แกนนำ 10 ชุมชนและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง(3 เม.ย. 2567-30 ก.ย. 2567) 900.00            
3 3. ค่าวัสดุอุปกรณ์อื่นๆและค่าถ่ายเอกสารพร้อมจัดทำรูปเล่ม(3 เม.ย. 2567-30 ก.ย. 2567) 2,000.00            
รวม 33,880.00
1 1. กิจกรรมรณรงค์กำจัด ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย BIG CLEANING ในชุมชน ทุก 3 เดือน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 400 30,980.00 0 0.00
3 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 400 12,000.00 -
3 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่าโทรโข่งประชาสัมพันธ์ 0 2,480.00 -
3 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่าวัสดุและอุปกรณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 0 10,000.00 -
3 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่านวัตกรรม (ลูกเป็ดปราบยุง) 0 1,500.00 -
3 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่าจัดทำสื่อให้ความรู้ 0 5,000.00 -
2 2. กิจกรรมสาธิตนวัตกรรมควบคุมโรค (ลูกเป็ดปราบยุง) โดย อสม แกนนำ 10 ชุมชนและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 30 900.00 0 0.00
3 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 30 900.00 -
3 3. ค่าวัสดุอุปกรณ์อื่นๆและค่าถ่ายเอกสารพร้อมจัดทำรูปเล่ม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 2,000.00 0 0.00
3 เม.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 ค่าวัสดุอุปกรณ์อื่นๆและค่าถ่ายเอกสารพร้อมจัดทำรูปเล่ม 0 2,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนเกิดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องไข้เลือดออก
    1. ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
    2. ทำให้สามารถลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลายได้
    3. ทำให้สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 เม.ย. 2567 10:46 น.