กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กเล็ก
รหัสโครงการ L3332
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปากพล
วันที่อนุมัติ 20 มีนาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 10,801.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปากพล
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปากพล
ละติจูด-ลองจิจูด 7.435,100.197place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 45 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)       สุขภาพชิองปากมีความสำคัญยิ่งต่อประชาชนทุกกลุ่มวัย โดยเฉพาะในเด็กปฐมวัย มักพบปัญหาทางด้านทันตสุขภาพเสมอ และปัญหาที่พบมาก คือ โรคฟันผุ ซึ่งสารถซึ้งสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรก ทั้งนี้ อัตราการเกิดโรคฟันผุมักเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในชวงอายุ 2-4 ปี ก่อให้เกิดโรคฟันน้ำนมผุอย่างรุนแรง ทำให้เด็กมีความเจ็บปวด ไม้สามารถรับประทานอาหารได้ตามปกติ ส่งผลต่อน้ำหนักตัว การเจริญเติบโตของร่างกาย และพัฒนาการของเด็ก ทำให้เด็กเป็นโรคขาดอาหารได้       นอกจากนี้หลังจากเกิดฟันน้ำนมผุ ยังมีผลเสียต่อฟันแท้ของเด็กในอนาคตอีกด้วย กล่าวคือ ฟันน้ำนมที่ถูกถอนหรือหลุดไปก่อนเวลาที่เหมาะสม จะทำให้ฟันล้มเอียงเข้าหาช่องว่าง ทำให้ฟันแท้ที่จะขึ้นแทนตำแหน่งนั้นไม่สามารถขึ้นได้อย่างปกติ อาจจะขึ้นมาในลักษณะบิดหมุน ซ้อนเก ซึ้งจะส่งผลต่อความสวยงามเกิดเป็นปมด้อยทำให้เด็กไม่กล้าแสดงออก อกจากนั้นยังพบว่าเด็กส่วนใหญ่ มีการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมอาจเนื่องมาจากผู้ปกครองยังขาดความรู้เกี่ยวกับการดูแลทันตสุขภาพ ตลอดจนยังมีทัศนคติและพฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพของเด็กบางเรื่องยังไม่ถูกต้อง และทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ยังไม่มีสถานที่แปรงฟัน จึงทำให้กิจกรรมการแปรงฟันหลังการรับประทานอาหารกลางวันไม่ต่อเนื่อง ขาดอุปกรณ์ในการแปรงฟัน ไม่มีที่เก็บอุปกรณ์การ แปรงฟัน       การแก้ปัญหาทันตสุขภาพจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และได้รับความร่วมมือจากหลายๆฝ่าย ดังนั่น ข้าพเจ้าจึงคิดจัดทำโครงการ "หนูน้อยสุขภาพฟันดี" ขึ้น เพื่อกระตุ้นให้เกิดการส่งเสริมทันตสุขภาพแก่เด็กนักเรียน โดยการมีส่วนร่วมของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้ที่เกี่ยวข้อง อันส่งผลต่อสุขภาพและสุขภาพช่องปากที่ดีของนักเรียนต่อไปในอนาคต

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1 เพื่อให้เด็กนักเรียนมีอุปกรณ์การแปรงฟันและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีที่เก็บอุปกรณ์การแปรงฟัน

1.นักเรียนมีอุปกรณ์การแปรงฟันและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีที่เก็บอุปกรณ์การแปรงฟัน

2 2. เพื่อให้เด็กนักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวัน

2.เด็กสามารถแปรงฟันได้อย่างถูกวิธี

3 3.เพื่อใช้กิจกรรมการแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวันของนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

3.นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปากพลมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น

4 4. เพื่อจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ เด็ก ครู บุคลากรและผู้ปกครอง มีความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับทันตสุขภาพและการดูแลช่องปากที่ถูกต้องและเด็กสามารถแปรงฟันได้อย่างถูกวิธี

4.ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการดุแลสุขภาพช่องปากของเด็กมากขึ้นและมีการดุแลสุขภาพช่องปากขอวเด็กมากขึ้น

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1 เพื่อให้เด็กนักเรียนมีอุปกรณ์การแปรงฟันและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีที่เก็บอุปกรณ์การแปรงฟัน

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : 2. เพื่อให้เด็กนักเรียนแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวัน

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : 3.เพื่อใช้กิจกรรมการแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวันของนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 : 4. เพื่อจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ เด็ก ครู บุคลากรและผู้ปกครอง มีความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับทันตสุขภาพและการดูแลช่องปากที่ถูกต้องและเด็กสามารถแปรงฟันได้อย่างถูกวิธี

รวม 0 0.00 0 0.00

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียนมีอุปกรณ์การแปรงฟันและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีที่เก็บอุปกรณ์การแปรงฟัน
  2. เด็กสามารถแปรงฟันได้อย่างถูกวิธี
  3. นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปากพลมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น
  4. ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการดุแลสุขภาพช่องปากของเด็กมากขึ้นและมีการดุแลสุขภาพช่องปากขอวเด็กมากขึ้น
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 เม.ย. 2567 14:05 น.