กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการหมู่บ้านต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค
รหัสโครงการ 67-L1490-02-31
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มสตรีนัมเบอร์วัน
วันที่อนุมัติ 21 พฤษภาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2567 - 1 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 18 กันยายน 2567
งบประมาณ 121,850.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ 1)นางสุจินดา ภูมิมาตร 2)นางวันดี วุ่นคง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.51928,99.623287place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 3 มิ.ย. 2567 30 ส.ค. 2567 121,850.00
รวมงบประมาณ 121,850.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 240 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของพื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ เมื่อเทียบกับพื้นที่เกษตรทั้งหมด
20.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบัน ปัญหาสุขภาพที่เป็นสาเหตุการตายอันดับแรกๆของประเทศไทย คือ โรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูงโรคหัวและหลอดเลือด มีอันตราย 85.04,3.64,55.25 ต่อแสนประชากรตามลำดับ (ข้อมูลจากสำนักโรคไม่ติดต่อกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2550) และต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงมาก เฉพาะโรคมะเร็งอย่างเดียว ประมาณคนละ 1 ล้านบาท ซึ่งโรคเหล่านี้เกิดจากการมีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง คือขาดการออกกำลังกาย มีการรับประทานอาหารไม่เหมาะสมและไม่เพียงพอ แม้ประชาชนจะมีความรู้ แต่ยังไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้อง และจากการสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยอายุมากกว่า 15 ปี พบว่าการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ด้วยการปฏิบัติจริง 2 กระบวนการได้แก่ 1. การออกกำลังกายสม่ำเสมอละอย่างน้อย 3-5 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที 2. การรับประทานผักและผลไม้สด วันละครึ่งกิโลกรัม หรือรับประทานผักในปริมาณครึ่งหนึ่งของอาหารแต่ละมื้อและลดการรับประทานอาหารไข้มัน จะสามารถทำให้ประชาชนลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งได้ถึงร้อยล่ะ 20-30 โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ก็ลดลงมากเช่นกัน ทั้งการออกลังกายและการปลูกผักร่วมกันยังเป็นกิจกรรมสร้างความอบอุ่นในครอบครัวอีกด้วย กลุ่มสตรี เทศบาลตำบลโคกหล่อ จึงได้จัดทำ โครงการหมู่บ้านต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคขึ้นในสมัยปัจจุบันวิทยาการทั้งหลายเจริญขึ้นโดยไม่คำนึงถึงผลกระทบในระยะยาว เช่น ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยเคมี การใช้สารเคมี กำจัดศัตรูพืช การใช้สารเร่งการเจริญเติบโตในสัตว์ รวมถึงการใช้เทคโนโลยีในการตัดต่อพันธุกรรมพืชและสัตว์ เทคโนโลยีที่อ้างว่า ทันสมัยกลับทำให้ดินเสีย น้ำเสีย ระบบนิเวศโดยรวมเสีย ซึ่งจะเห็นได้ชัดเจนในสมัยปัจจุบัน ทำให้ผลผลิตทางการเกษตรที่จะใช้เป็นอาหารปนเปื้อนด้วยสารพิษที่ตกค้างเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคในที่สุด

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
3 - 14 มิ.ย. 67 ประชุมคณะทำงาน 15 750.00 -
17 มิ.ย. 67 - 6 ก.ค. 67 กิจกรรมตรวจประเมินสุขภาพ/อบรมให้ความรู้ จำนวน 12 ครั้ง (12หมู่บ้าน) 240 96,000.00 -
17 มิ.ย. 67 - 6 ก.ค. 67 กิจกรรมสนับสนุนพันธุ์พืชแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ 240 24,000.00 -
1 ก.ย. 67 กิจกรรมประเมินผลการดำเนินตามแผนงาน 15 1,100.00 -
รวม 510 121,850.00 0 0.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เกิดหมู่บ้านต้นแบบในการสร้างเสริมสุขภาพ
  2. ลดอัตราการเจ็บป่วยที่เกิดจากการมีพฤติกรรมในการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง
  3. ประชาชนมีความตระหนักในการสร้างเสริมสุขภาพด้วยตัวเอง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 8 พ.ค. 2567 11:13 น.