กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ การจัดการขยะอันตราย เทศบาลตำบลตันหยง ปี 2567
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
วันที่อนุมัติ 23 เมษายน 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 10 พฤษภาคม 2567 - 20 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 10,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ , แผนงานปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ , แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2800 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ขยะอันตรายเป็นขยะที่มีพิษอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม เช่น หลอดไฟ แบตเตอรี่รถยนต์/มือถือ ถ่านไฟฉาย กระป๋องสเปรย์/ยาฆ่าแมลง ภาชนะใส่น้ำมันเครื่อง ยารักษาโรคที่เสื่อมสภาพ น้ำยาขัดเงา สีทาบ้าน ของเสียของเหลือใช้ที่เสื่อมสภาพ และภาชนะบรรจุจากผลิตภัณฑ์ในบ้านเรือน ที่มีหรือปนเปื้อนด้วยสารอันตรายประเภทต่าง ๆ สารพิษ สารกัดกร่อน สารไวไฟ เป็นต้น ประเทศไทยมีปริมาณของเสียอันตรายจากชุมชนมีปริมาณ 3 แสนตันต่อปี แต่ละคนก่อให้เกิดของเสียอันตราย 5 กิโลกรัมต่อคนต่อปี ของเสียที่เกิดขึ้นดังกล่าว หากถูกทิ้งปะปนไปกับขยะมูลฝอยทั่วไปและทำให้เกิดปัญหากับสุขภาพและสิ่งแวดล้อม การทิ้งลงพื้นดิน ทิ้งรวมกับขยะมูลฝอยทั่วไป ทิ้งลงท่อระบายน้ำหรือเผา จะทำใไหเราได้รับสารอันตรายเข้าสู่ร่างกายได้ทั้งทางตรง โดยการสัมผัสทางผิวหนัง การหายใจรับไอระเหย และการกินอาหารที่ปนเปื้อน เป็นต้น และทางอ้อม โดยสารพิษที่มีอยู่ในของเสียอันตรายจะแพร่กระจายและสะสมอยู่ในสิ่งแวดล้อมและห่วงโซ่อาหารจนในที่สุดกลับมาสู่ตัวเราได้ ดังนั้น เทศบาลตำบลตันหยง จึงได้จัดทำโครงการจัดทำจุดรวบรวมอันตราย เพื่อเป็นจุดรวบรวมขยะอันตราย เพื่อการนำส่งจัดการขยะดังกล่าวได้ถูกต้อง ไม่เกิดอันตรายต่อชุมชน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 30800 10,000.00 0 0.00
10 - 20 พ.ค. 67 จัดทำอุปกรณ์สำหรับรวบรวมขยะอันตราย 28,000 10,000.00 -
10 พ.ค. 67 - 20 ก.ย. 67 การจัดการขยะอันตรายในชุมชน 2,800 0.00 -
10 พ.ค. 67 - 20 ก.ย. 67 ประเมินผล 0 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ชุมชนมีจุดรวบขยะอันตรายและ นำไปกำจัดได้ถูกต้อง 2ประชาชนมีการคัดแยกขยะอันตราย ทดปริมาณขยะอันตรายในชุมชน 3.ประชาชนให้สิ่งแวดล้อมที่ดีส่งผลให้มีสุขภาพ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 พ.ค. 2567 14:59 น.