กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหากรณีเกิดโรคระบาด/หรือภัยพิบัติในพื้นที่
รหัสโครงการ 61-L1472-05-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ องค์การบริหารส่วนตำบลวังวน
วันที่อนุมัติ 21 ธันวาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 9,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายชัยยะ มีแก้ว
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลวังวน อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.358,99.558place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1269 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

ระบุ

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยาเป็นโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค พบผู้ป่วยจำนวนมากในช่วงฤดูฝน เนื่องจากช่วงฤดูฝน น้ำฝนสามารถขังอยู่ในภาชนะต่างๆ ได้ เพียงพอที่จะทำให้ยุงลายสามารถวางไข่และเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยได้ ทำให้มีประชากรยุงลายเพิ่มมากขึ้น  แหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย อาทิเช่น ขยะ ถุงพลาสติก กะลา ยางรถยนต์ ฯลฯ และการเจริญของบ้านเมือง การคมนาคม ทำให้ผู้ป่วยไปรับเชื้อโรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยามาจากพื้นที่อื่นได้ โรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยา เป็นโรคติดต่อที่มีความรุนแรง ถึงขั้นเสียชีวิตได้หากได้รับการรักษาไม่ทันเวลา หรือรับการรักษาที่ไม่ถูกต้องและมีผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคม
    สถานการณ์การระบาดของโรคไข้เลือดออกแลโรคชิคุนกุนยาในพื้นที่หมู่ที่ 3 บ้านแหลม ตำบลวังวน พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยา พบมากในผู้ป่วยกลุ่มนักเรียน กลุ่มทำงาน และเมื่อเกิดโรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยา ก็รีบดำเนินการควบคุมโรคอย่างรวดเร็ว ทำให้การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยาได้ผลที่น่าพอใจระดับหนึ่ง อย่างไรก็แล้วแต่การควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคชิกคุนกุนยาต้องดำเนินการต่อไป เพราะปัจจัยที่เอื้อให้เกิดโรคมีหลายปัจจัยทั้งภายในและปัจจัยภายนอก และยังคงใช้แนวทางในการดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยา ตามแนวทางของกรมควบคุมโรคติดต่อ กระทรวงสาธารณสุข ทั้งสามแนวทาง ได้แก่ ทางกายภาพ เช่น ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์        วิธีทางชีวภาพ เช่น การปล่อยปลากินลูกน้ำยุงลาย  วิธีทางเคมีภาพ เช่น การใช้สารเคมีทรายอะเบท และการพ่นสารเคมี ( พ่นหมอกควัน )

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยา ให้ลดลง 2. เพื่อลดอัตราผู้ป่วย ด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยา ในทุกกลุ่มอายุ 3. เพื่อพ่นหมอกควันบริเวณ หมู่ที่ 3 บ้านแหลม ให้ทันกับสถานะการณ์ของโรค

1.ประชาชนในพื้นที่ หมู่ที่ 3 ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยา 2.พ่นหมอกควันได้ทันเวลากับโรคที่เกิดขึ้น

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 1,164.00 0 0.00
22 - 23 ก.ค. 61 พ่นหมอกควันในพื้นที่หมู่ที่หมู่ที่ 3 0 1,164.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในพื้นที่ หมู่ที่ 3 ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยา 2.พ่นหมอกควันได้ทันเวลากับโรคที่เกิดขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 28 ธ.ค. 2560 14:39 น.