กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดโรคเลปโตสไปโรซีสในชุมชนประจำปี 2561
รหัสโครงการ 61-L1534-1-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านพรุจูด
วันที่อนุมัติ 28 ธันวาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2561
งบประมาณ 11,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวสุดใจช่วยธานี
พี่เลี้ยงโครงการ นายวุฒิชัย นิ่มดำ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบางดี อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.841,99.494place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสุรา , แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ม.ค. 2561 30 ก.ย. 2561 11,000.00
รวมงบประมาณ 11,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากข้อมูลสถิติการระบาดของโรคฉีหนูตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2560 ถึง 3 ธันวาคม 2560 ในประเทศได้รับการรายงานผู้ป่วย จำนว 3,156 จังหวัด อัตราป่วย 4.82 ต่อแสนประชากร ในพื้นที่รับผิดชอบเขต รพ.สต.บ้านพรุจูด มีผู้เสียชีวิต 1 ราย มีผู้ป่วย จำนวน 10 ราย อัตราป่วย 58.82 ต่อแสนประชากร ซึ่งมีอัตราป่วยสูง และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มมากขึ้น ถ้าหากไม่มีกาประชาสัมพันธ์และรณรงค์ควบคุมป้องกันโรคที่ดีโดยเฉพาะครัวเรือน ชุมชน อสม. กรรมการหมู่บ้าน และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ต้องร่วมกันในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมการณรงค์กำจัดพาะหนะนำโรค และการใช้เครื่องมือป้องกันตัวเองไม่ให้ติดเชื้อ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ความรู้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเรื่องโรคเลปโตสไปโรซีสและการป้องกัน

ประชาชนได้รับความรู้สามารถนำไปถ่ายทอดได้

2 เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์โรคเลปโตสไปโรซีส

ครัวเรือนได้รับการปรับปรุงสุขาภิบาลไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์โรค

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. ประชาสัมพันธ์โครงการ กลุ่มเป้าหมาย
  2. จัดอบรบให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 200 คน แบ่งเป็นเวลา 2 วัน ๆ ละ 100 คน โดยวิทยากรบรรยายให้ความรุ้ การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ของผู้เข้าอบรม และการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง
  3. รณรงค์ประชาสัมพันธ์โรคฉี่หนูในพื้นที่เสี่ยง
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนมีความรู้ สามารถถ่ายทอดความรู้ เฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคเลปโตสไปโรซีส
  2. ครัวเรือน มีการปรับปรุงสุขาภิบาลครัวเรื้อนไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธ์ุโรค
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 ม.ค. 2561 11:44 น.