กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองยาว


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงวัยกายใจดีชีวีมีสุข ”

ตำบลหนองยาว อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

หัวหน้าโครงการ
1.นายสละ พงษบุญ 2.นายปรานอม ไทยเจริญ 3.ดต.ทวี อรุณนพรัตน์ 4.นายวิเชียร เพ็งบุบผา 5.นายอาทิตย์ ยะหัตตะ

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงวัยกายใจดีชีวีมีสุข

ที่อยู่ ตำบลหนองยาว อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัด ฉะเชิงเทรา

รหัสโครงการ L90911801004 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ตุลาคม 2560 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงวัยกายใจดีชีวีมีสุข จังหวัดฉะเชิงเทรา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองยาว อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองยาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงวัยกายใจดีชีวีมีสุข



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงวัยกายใจดีชีวีมีสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองยาว อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา รหัสโครงการ L90911801004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 ตุลาคม 2560 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 74,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองยาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
  2. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ
  3. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมฟื้นฟูสุขภาพแก่ผู้สูงอายุประเภทติดสังคม
  2. กิจกรรมสำรวจเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ
  3. คัดกรองโรคในกลุ่มผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 900
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ร้อยละ 70 ของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์) ร้อยละ 60 ของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์) ร้อยละ 50 หน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย เช่น การออกกำลังกาย การมีกิจกรรมการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมสำรวจเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ

วันที่ 3 ตุลาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินการตรวจสุขภาพทางกายเบื่องต้น ให้กำลังใจผู้สูงอายุและญาติ ให้ความรู้เรื่องพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม 3 อ. 2 ส.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายแข็งแรงสมบูรณ์

 

36 0

2. กิจกรรมฟื้นฟูสุขภาพแก่ผู้สูงอายุประเภทติดสังคม

วันที่ 25 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ผู้สูงอายุที่ติดเตียงได้มีกิจกรรมทางกายในการเคลื่อนไหวที่สอดคล้องกับสภาวะของร่างกาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุที่ติดเตียงได้มีกิจกรรมทางกายในการเคลื่อนไหวที่สอดคล้องกับสภาวะของร่างกาย

 

80 0

3. คัดกรองโรคในกลุ่มผู้สูงอายุ

วันที่ 26 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดทำทะเบียนกลุ่มเป้าหมายแยกตามรายหมู่บ้าน 2.นัดหมายการคัดกรองสุขภาพแกกลุ่มเป้าหมาย 3.คัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาวะซึ่มเศร้า โรคอัมพฤอัมพาต และตรวจสุขภาพในช่องปาก 4.แจ้งผลการตรวจแกกลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุทราบผลสุขภาพของตนเองโดยแบ่งเป็น 3 กลุ่มดังนี้ 1.กลุ่มปกติคัดกรองซำ้ปีละ 1 ครั้ง 2.กลุ้มเสี่ยงนัดหมายเข้ารับการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและคัดกรองซ้ำ ปีละ 1 ครั้ง 3.กลุ่มป่วยส่งพบแพทย์ วัน PCU เพื่อให้การรักษาและขึ้นทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

 

784 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
60.00 70.00 10.00

จากสถารณ์การ ร้อยละ 60 ของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ จำนวน 3740 คน มีกิจกรรมทางกายเพิ่มมากขึ้น เป็น ร้อยละ 70 จำนวน 4364 คน โดยมีผลผลิต คิดเป็นร้อยละ 10 คิดเป็นจำนวน 624 คน

2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
50.00 60.00 10.00

จากสถารณ์การ ร้อยละ 50 ของผู้ใหญ่อายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ จำนวน 548 คน มีกิจกรรมทางกายเพิ่มมากขึ้น เป็น ร้อยละ 70 จำนวน 657คน โดยมีผลผลิต คิดเป็นร้อยละ 10 คิดเป็นจำนวน 109 คน

3 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละหน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย เช่น การออกกำลังกาย การมีกิจกรรมการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน
30.00 50.00 4.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 900
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 900
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ (2) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ (3) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมฟื้นฟูสุขภาพแก่ผู้สูงอายุประเภทติดสังคม (2) กิจกรรมสำรวจเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ (3) คัดกรองโรคในกลุ่มผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงวัยกายใจดีชีวีมีสุข

รหัสโครงการ L90911801004 ระยะเวลาโครงการ 2 ตุลาคม 2560 - 28 กันยายน 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2ส.

ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมเหมาะสมตามวัย

สร้างแกนนำสุขภาพดีให้กลุ่มเยาวชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่ม

มีแกนนำผู้สูงอายุ

ใช้ในการต่อยอดกลุ่มอื่นๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่ม

มีแกนนำผู้สูงอายุ

ใช้ในการต่อยอดกลุ่มอื่นๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

เกิดชมรมผู้สูงอายุที่เข้มแข็ง

ชมรมสามารถบริหารจัดการได้ด้วยตนเอง

พัฒนาสู่โรงเรียนผู้สูงอายุ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม

จำนวนผูสูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังลดลง

ขยายผลต่อยอดในกลุ่มวัยแรงงาน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ลดการบริโภคอาหาร หวาน มันเค็ม

จำนวนผูสูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังลดลง

ขยายผลต่อยอดในกลุ่มวัยแรงงาน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

ผู้สูงอายุมีการออกกลังกายมากขึ้น

จำนวนผูสูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังลดลง

ขยายผลต่อยอดในกลุ่มวัยแรงงาน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

ผู้สูงอายุมรแนวทางการจัดการความเครียดด้วยตนเอง

ไม่พบผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพจิต

ขยายผลต่อยอดในกลุ่มวัยแรงงาน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

ผู้สูงอายุมีการใช้ภูมิปัญญาในท้องถิ่น และสมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

ผลิตสเปรย์ตะใคร่ห้อม และยาดมสมุนไพร

ขยายผลต่อในกลุ่มอื่นๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม

ผู้สูงอายุป่วยด้วยโรคเรื้อรังลดลง

ขยายผลกลุ่มอื่่นๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

ต้องเข้าร่วมกิจกรรมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

ระเบียบชมรมผู้สูงอายุ

ขยายต่อในกลุ่มอื่นๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

มีธรรมนูยสุขภาพตำบลหนองยาว

ข้อ 7 พัฒนากระบวนการบริการสาธารณสุขให้กับประชาชนทุกกลุ่มอายุในตำบลอย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง

ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานแก่ทุกกลุ่มวัย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

ประสานงานกลุ่มผู้สูงอายุตำบลอื่นๆ และผู้สูงอายุระดับอำเภอ

การจักมหกรรมชมรมผู้สูงอายุระดับอำเภอ

มีการดำเนินงานทุกปี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

ชมรมผู้สูงอายุมีการวิเคราะห์ปัญหาในผู้สูงอายุ และจัดทำโครงการเสนอของบประมาณจากกองทุนตำบล

ได้รับงบประมาณสนับสนุนทุกปี

มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

การใช้ข้าราชการเกษียณอายุมาช่วยบริหารจัดการชมรม

ข้าราชการเกษียณอายุเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการชมรม

มีแนวทางในการดำเนินงานชัดเจนเป็นรูปธรรม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการจัดกิจกรรมของชมรมทุกเดือน

ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมสม่ำเสมอ

ใชเป็นแนวทางในการดำเนิการชมรมอื่นๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องพฤติกรรมสุขภาพ

ผู้สูงอายุป่วยด้วยโรคเรื้อรังลดลง

ใช้เป็นแนวทางในกลุ่มวัยทำงาน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

มีการจัดทำแผนปฏิติการทุกปี

ได้รับงบประมาณในการดำเนินกิจกรรมตามแผน

มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

ชมรมผู้สูงอายุสามารถบริหารจัดการได้ด้วยตนเอง

มีการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องโดยชมรม

ขยายผลสู่ผู้สูงอายุทุกคนในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

สมาชิกชมรมมีการพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือผู้ด่อยโอกาสกว่า

การดูแลผู้สูงอายุที่ยากไร้ในชุมชน

ขยายผลสู่กลุ่มผู้พิการ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงวัยกายใจดีชีวีมีสุข จังหวัด ฉะเชิงเทรา

รหัสโครงการ L90911801004

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( 1.นายสละ พงษบุญ 2.นายปรานอม ไทยเจริญ 3.ดต.ทวี อรุณนพรัตน์ 4.นายวิเชียร เพ็งบุบผา 5.นายอาทิตย์ ยะหัตตะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด