กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง


“ โครงการการจัดการขยะเพื่อสุขภาวะและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน บ้านควนหมอทอง ปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายสมมิตร ขุนแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการการจัดการขยะเพื่อสุขภาวะและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน บ้านควนหมอทอง ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 สิงหาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการจัดการขยะเพื่อสุขภาวะและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน บ้านควนหมอทอง ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการจัดการขยะเพื่อสุขภาวะและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน บ้านควนหมอทอง ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการจัดการขยะเพื่อสุขภาวะและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน บ้านควนหมอทอง ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 สิงหาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงเรียนบ้านควนหมอทอง ตั้งอยู่ หมู่ที่ 4 ต.โคกม่วง อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง มีนักเรียน ทั้งหมด 198 คน ครูและบุคคลากรในโรงเรียน 21 คน เปิดสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาล - ม.3 จากสภาพปัญหาพบว่า โรงเรียนมีปัญหาเกี่ยวจำนวนขยะที่เกิดขึ้นต่อวันมีจำนวนมาก ทั้งขยที่เกิดจากธรรมชาติ เช่นใบไม้ และขยะที่เกิดจากการสร้างของนักเรียน เช่น กระดาษ ถุงพลาสติก ขวดพลาสติก เป็นต้น ซึ่งในปัจจุบันโรงเรียนไม่มีระบบกาจัดการขยะ ไม่มีการคัดแยกขยะ และบางครั้งมีการคัดแยกขยะที่ผิดวิธี เช่น การเผา ซึ่งส่งผลกรทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนและชุมชนใกล้เคียง สร้างความสกปรกและสร้างทัศนียภาพที่ไม่น่าดูให้กับโรงเรียน ขยะเหล่านี้ยังเป็นแหล่งเพาะพันธ์ุเชื้อโรค และสัตว์ต่างๆที่เป็นภาหะนำโรค เช่น หนู แมลงวัน แมลงวี่ บางครั้งเป็นสาเหตูสุนับและแมวเข้ามาอาศัยในโรงเรียน ซึ่งล้วนแต่สร้างปัญหาสุขภาวะและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพนักเรียน ทำให้นักเรียนเป็นโรคต่างๆ เช่น ระบบ ทางเดินหายใจ ระบบทางเดินรอาหาร โรคผิวหนัง โรงเรียนบ้านควนหมอทองได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว และเพื่อให้โรงเรียนมีสิ่งแวดล้อมที่ดีซึ่งจะ ส่งผลให้นักเรียนมีสุขภาวะที่ดีปราจากโรคภัยไข้เจ็บ จึงได้จัดทำโครงการการจัดการขยะเพื่อสุขภาวะและสิ่งแวดล้อมขึ้นภายในโรงเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ครูและนักเรียนในโรงเรียน มีความรู้ สามรถแยกขยะ มูลฝอยได้ถูกต้อง
  2. 2. จัดการสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. รู้เฟื่องเรื่องขยะ -
  2. จัดหาที่จัดเก็บขยะในโรงเรียน
  3. กิจกรรมย่อย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 219
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีวิธีการจัดเก็บขยะที่ถูกต้อง
  2. ปริมาณขยะลดลง
  3. โรงเรียนสะอาดมีสิ่งแวดล้อมและสุขภาวะที่ดี
  4. นักเรียนมีสุขภาพดีขึ้น ลดการเกิดโรคระบบทางเดินหายใจ ทางเดินอาหารและผิวหนัง
  5. เกิดการมีสวนร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชนในการร่วมกันดูแลสิ่งแวดล้อม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. รู้เฟื่องเรื่องขยะ -

วันที่ 22 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ค่าวัสดุอุปกรณ์ ถังขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครู นักเรียน และบุคคลากรในโรงเรียนจำนวน 219 คน ได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยกับการคัดแยกขยะ โรงเรียนมีที่จัดเก็บที่ถูกกสุขลักษณะ ร้อยละ 90 นักเรียนร้อยละ 80 สร้างมูลค่าให้ขยะด้วยการนำกลับมาใช้ใหม่ ร้อยละ 90 ของนักเรียน ร้อยละ 95 ของครู และบุคคลกรในโรงเรียนมีภาวะ เจ็บป่วยโรคระบบทางเดินหายอาหาร ทางเดินหายใจลดน้อยลงฃ ผลลัพธ์ ครูและบุุคคลากรในโณงเรียน ร้อบละ 100 นักเรียนร้อยละ 90 ได้รับความรู้ความเข้าใจต โรงเรียนมีที่จัดเก็บขยะที่ถุกสุขลฃักษณะ นักเรียนร้อยละ 80 สร้างมูลค่าให้ขยะด้วยการนำมาสร้างสรรค์และประดิษฐ์เป็นสิ่งของ รักเรียนร้อยละ 90 ครู และบุคลากรในโรงเรียน ร้อยละ 95 มีภาวะเจ็บป่วยด้วยระบบทางเดินอาหาร ทางเดินห่ยใจลดน้อยลง

 

219 0

2. จัดหาที่จัดเก็บขยะในโรงเรียน

วันที่ 22 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ค่าวัสดุอุปกรณ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครู นักเรียน และบุคคลากรในโรงเรียนจำนวน 219 คน ได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยกับการคัดแยกขยะ โรงเรียนมีที่จัดเก็บที่ถูกกสุขลักษณะ ร้อยละ 90 นักเรียนร้อยละ 80 สร้างมูลค่าให้ขยะด้วยการนำกลับมาใช้ใหม่ ร้อยละ 90 ของนักเรียน ร้อยละ 95 ของครู และบุคคลกรในโรงเรียนมีภาวะ เจ็บป่วยโรคระบบทางเดินหายอาหาร ทางเดินหายใจลดน้อยลงฃ ผลลัพธ์ ครูและบุุคคลากรในโณงเรียน ร้อบละ 100 นักเรียนร้อยละ 90 ได้รับความรู้ความเข้าใจต โรงเรียนมีที่จัดเก็บขยะที่ถุกสุขลฃักษณะ นักเรียนร้อยละ 80 สร้างมูลค่าให้ขยะด้วยการนำมาสร้างสรรค์และประดิษฐ์เป็นสิ่งของ รักเรียนร้อยละ 90 ครู และบุคลากรในโรงเรียน ร้อยละ 95 มีภาวะเจ็บป่วยด้วยระบบทางเดินอาหาร ทางเดินห่ยใจลดน้อยลง

 

219 0

3. กิจกรรมย่อย

วันที่ 22 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

อาหารว่างและเครื่องดื่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครู นักเรียน และบุคคลากรในโรงเรียนจำนวน 219 คน ได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยกับการคัดแยกขยะ โรงเรียนมีที่จัดเก็บที่ถูกกสุขลักษณะ ร้อยละ 90 นักเรียนร้อยละ 80 สร้างมูลค่าให้ขยะด้วยการนำกลับมาใช้ใหม่ ร้อยละ 90 ของนักเรียน ร้อยละ 95 ของครู และบุคคลกรในโรงเรียนมีภาวะ เจ็บป่วยโรคระบบทางเดินหายอาหาร ทางเดินหายใจลดน้อยลงฃ ผลลัพธ์ ครูและบุุคคลากรในโณงเรียน ร้อบละ 100 นักเรียนร้อยละ 90 ได้รับความรู้ความเข้าใจต โรงเรียนมีที่จัดเก็บขยะที่ถุกสุขลฃักษณะ นักเรียนร้อยละ 80 สร้างมูลค่าให้ขยะด้วยการนำมาสร้างสรรค์และประดิษฐ์เป็นสิ่งของ รักเรียนร้อยละ 90 ครู และบุคลากรในโรงเรียน ร้อยละ 95 มีภาวะเจ็บป่วยด้วยระบบทางเดินอาหาร ทางเดินห่ยใจลดน้อยลง

 

219 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ครูและนักเรียนในโรงเรียน มีความรู้ สามรถแยกขยะ มูลฝอยได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1. ครู นักเรียนในโรงเรียนมีความรู้ในการแยกขยะมูลฝอยได้ ถูกต้อง ร้อยละ 80
1.00

 

2 2. จัดการสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : 2. สัตว์ แมลง การเกิดรคลดลง จำนวนการเผาขยะลดลง ร้อยละ 50 กลิ่นรบกวนจากขยะลดน้อยลง
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 219
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 219
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ครูและนักเรียนในโรงเรียน มีความรู้ สามรถแยกขยะ มูลฝอยได้ถูกต้อง (2) 2. จัดการสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. รู้เฟื่องเรื่องขยะ - (2) จัดหาที่จัดเก็บขยะในโรงเรียน (3) กิจกรรมย่อย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการจัดการขยะเพื่อสุขภาวะและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน บ้านควนหมอทอง ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมมิตร ขุนแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด