กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยสุขภาพดีพัฒนาการสมวัย คุณแม่ใส่ใจดูแลสุขภาพ ประจำปี 2560
รหัสโครงการ 60-50117-1-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลนาโยง
วันที่อนุมัติ 18 พฤศจิกายน 2559
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2560 - 14 มกราคม 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 26,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลนาโยง
พี่เลี้ยงโครงการ นางวลัยภรณ์เยาดำ
พื้นที่ดำเนินการ ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลนาโยง และ อบต.นาโยงเหนือ
ละติจูด-ลองจิจูด 7.566,99.699place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เด็กที่มีสติปัญญา (Intellingence Quotion : IQ ) ดี และความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional Quotient:EQ) ดีก็จะสามารถปรับตัวได้ดี รับมือกับปัญหาได้และประสบความสำเร็จในชีวิตมากขึ้น แต่จากภาพรวมแล้วเด็กไทยมีปัญหาเรื่องระดับ IQ และ EQ จากข้อมูลของรายงานการสำรวจสถานการณ์ระดับสติปัญญาเด็กนักเรียนไทย 2554 โดยกรมสุขภาพจิตกระทรวงสาธารณสุขพบว่าค่าเฉลี่ยระดับสติปัญญา IQ เด็กนักเรียนไทยในระดับประเทศ เท่ากับ 98.59 ซึ่งถือว่าอยู่ในเกณฑ์ปกติค่อนทางต่ำกว่าค่ากลางมาตรฐานสากล (IQ = 100) นอกจากนี้พบว่ากลุ่มเด็กสติปัญญาบกพร่อง (IQ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 -เพื่อกระตุ้นให้ผู้ปกครองได้ติดตาม และส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการตามวัย -เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดี ระหว่าง พ่อ แม่ ลูก หรือคนในครอบครัวในการทำกิจกรรมร่วมกัน

-เด็กอายุ 9,18,30และ42 เดือน ได้รับการคัดกรองพัฒนาการร้อยละ 90 -พบพัฒนาการสงสัยล่าช้า ได้รับการกระตุ้นและส่งต่อ ร้อยละ 100

2

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.สำรวจกลุ่มเป้าหมายเด็ก 2.ประชาสัมพันธ์โครงการ 3.ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเรื่องพัฒนาการเด็กตามกลุ่มวัย การกระตุ้นพัฒนาการ
4.จัดการประกวดหนูน้อยสุขภาพดีพัฒนาการสมวัย
5.ตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กตามอายุ
6.เด็กพัฒนาการล่าช้าแนะนำผู้ปกครองกระตุ้นพัฒนาการ และนำมาตรวจซ้ำ1 เดือน
7.สรุปและประเมินผลการดำเนินโครงการและรายงานกองทุนฯ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-ผู้ปกครองเด็กได้รับความรู้และสามารถดูแลฝึกเด็กให้มีพัฒนาการตามวัย -เด็กได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการตามกลุ่มวัยพบพัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นและพบแพทย์

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 ม.ค. 2560 13:56 น.