กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้พิการ/ทุพพลภาพ ในตำบลดุซงญอ ”

ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางฮาสเม๊าะ อามิง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้พิการ/ทุพพลภาพ ในตำบลดุซงญอ

ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2476-2-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มีนาคม 2561 ถึง 30 มีนาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้พิการ/ทุพพลภาพ ในตำบลดุซงญอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้พิการ/ทุพพลภาพ ในตำบลดุซงญอ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้พิการ/ทุพพลภาพ ในตำบลดุซงญอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2476-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มีนาคม 2561 - 30 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 58,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

คนพิการ หมายความว่า บุคคลซึ่งมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคมเนื่องจากมีความบกพร่องทางการมองเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์ พฤติกรรมสติปัญญาและการเรียนรู้หรือความบกพร่องอื่นใด ประกอบกับมีอุปสรรคในด้านต่างๆ และมีความจำเป็นเป็นพิเศษที่จะต้องได้รับความช่วยเหลือด้านหนึ่งด้านใด เพื่อให้สามารถปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคมได้อย่างบุคคลทั่วไป ประกอบกับ ปัจจุบันนี้ปัญหาด้านเศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะวิกฤติ ทำให้มีผลกระทบต่อบุคคลทั่วไปรวมทั้งคนพิการที่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ และคนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้จึงเป็นภาระต่อครอบครัวที่ต้องดูแลด้านต่าง ๆ ให้กับคนพิการ ส่วนหนึ่งผู้ดูแลผู้พิการยังขาดความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ ไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกายด้านจิตใจ ทำให้ผู้พิการบางคนมีความรู้สึกท้อแท้ เหนื่อยหน่ายต่อชีวิต ขาดกำลังใจในการดำรงชีวิต และไม่สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้ ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและการขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และแผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๓ กำหนดให้ภารกิจด้านการสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส การจัดสวัสดิการสังคม เป็นภารกิจที่ต้องถ่ายโอนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และอาจเลือกทำตามอำนาจหน้าที่ ประกอบกับนโยบายของรัฐบาลที่ให้ความสำคัญด้านสังคมและคุณภาพชีวิต ซึ่งเป็นหลักประกันด้านพื้นฐานของการบริการสาธารณะของรัฐ ได้ให้ความสำคัญกับผู้พิการ โดยเน้นย้ำถึงศักดิ์ศรีและสิทธิมนุษยชน การได้รับความคุ้มครองที่เท่าเทียมกันไม่เลือกปฏิบัติ การมีสิทธิได้รับสิ่งอำนวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะ ภายใต้การมีส่วนร่วมของผู้พิการ ชุมชนและประชาชนทั่วไป ดังนั้นองค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอจึงมีภารกิจเกี่ยวกับการให้บริการสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์แก่ผู้พิการผู้ป่วยเอดส์ผู้สูงอายุผู้ด้อยโอกาสผู้ยากไร้ผู้ประสบปัญหาทางสังคมให้สอดคล้องกับศักยภาพและบริบทความพร้อมด้านทรัพยากรชุมชนท้องถิ่นที่มีอยู่ ซึ่งการจัดสวัสดิการสังคมในรูปแบบต่าง ๆต้องทำเป็นการทำงานแบบพหุภาคีดังนั้นองค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านกาเต๊าะจึงร่วมมือกันในการบริการสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์แก่ผู้พิการ ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงจำเป็นที่งานด้านสาธารณสุขและพัฒนาชุมชนควรเข้ามามีส่วนในการดูแลสร้างความเชื่อมั่นสร้างขวัญกำลังใจโดยการให้ความรู้ ทำความเข้าใจกับผู้ดูแลให้มากขึ้น และออกเยี่ยมบ้านผู้พิการ/ทุพลภาพในตำบลดุซงญอดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอ บูรณาการร่วมกับ รพ.สต.ดุซงญอ และ รพ.สต.บ้านกาเต๊าะ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้พิการ/ทุพลภาพในตำบลดุซงญอ ประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2561 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลผู้พิการ
  2. เพื่อให้ผู้พิการมีความรู้ในการดูแลสุขภาพในชีวิตประจำวัน
  3. เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแล มีคุณภาพชีวิต (จิตใจ) ที่ดีขึ้น
  4. เพื่อออกเยี่ยมบ้าน ดูแลผู้พิการที่อยู่ห่างไกล และไม่สามารถเข้าถึงหน่วยบริการสาธารณสุขได้ พร้อม ทั้งค้นหาคนพิการรายใหม่ที่ยังไม่มีบัตรคนพิการ
  5. เพื่อค้นหาและสำรวจคนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้
  6. เพื่อนำปัญหาที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้พิการ มาปรับปรุงแก้ไขการบริการงานภาครัฐต่อไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.ค้นหาและสำรวจผู้พิการในเขตพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอที่ไม่สามารถ ช่วยเหลือตนเองได้ เพื่อให้รักษาทันท่วงที 2.จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้พิการ 3.ออกเยี่ยมบ้านผู้พิการติดบ้านติดเตียงในพื้นที่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 240
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้พิการมีความรู้ในการดูแลสุขภาพมากขึ้น และสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้
  2. ผู้พิการมีความเชื่อมั่นในคุณค่าของตัวเอง
  3. ผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลผู้พิการ
  4. สามารถค้นหาและสำรวจคนพิการรายใหม่ และคนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้
  5. ผู้พิการมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี
  6. ผู้พิการที่อยู่พื้นที่ห่างไกล และผู้ที่ไม่เคยมารับบริการสาธารณสุข สามารถเข้าถึงบริการ สาธารณสุขได้
  7. ภาครัฐสามารถนำปัญหาที่ได้จากการจัดทำโครงการมาปรับใช้ในการทำงานและสามารถสนองความต้องการที่แท้จริงของผู้พิการได้ตรงจุด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.ค้นหาและสำรวจผู้พิการในเขตพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอที่ไม่สามารถ ช่วยเหลือตนเองได้ เพื่อให้รักษาทันท่วงที 2.จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้พิการ 3.ออกเยี่ยมบ้านผู้พิการติดบ้านติดเตียงในพื้นที่

วันที่ 31 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ค้นหาและสำรวจผู้พิการในเขตพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ เพื่อให้รักษาทันท่วงที
  2. เขียนโครงการและเพื่อเสนอรับการสนับสนุนงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพ ฯ เพื่ออนุมัติ
  3. ติดต่อประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอนุเคราะห์เจ้าหน้าที่ร่วมดำเนินงาน
  4. จัดเตรียมเอกสารและวัสดุอุปกรณ์สำหรับการออกเยี่ยมบ้านผู้พิการติดบ้านติดเตียงจำนวน 22 คน
  5. เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานต่าง ๆ เข้าร่วมออกเยี่ยมบ้านผู้พิการตำบลดุซงญอ
  6. จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้พิการ/ผู้สูงอายุ (ทั้งที่ช่วยเหลือตนเองได้และไม่สามารถช่วยตนเองได้)
  7. จัดเวทีพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน เพื่อให้คนพิการและผู้ดูแลได้แสดงความคิดเห็น
  8. สรุปประเมินผลโครงการ โดยประเมินผลจากการแสดงความคิดเห็นของผู้พิการและผู้ดูแลที่เข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ค้นหาและสำรวจผู้พิการในเขตพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ เพื่อให้รักษาทันท่วงที
  2. ติดต่อประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอนุเคราะห์เจ้าหน้าที่ร่วมดำเนินงาน
  3. ออกเยี่ยมบ้านผู้พิการ/ทุพลภาพ เพื่อตรวจสุขภาพ และค้นหาคนพิการรายใหม่
  4. จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้พิการ/ผู้สูงอายุ (ที่ไม่สามารุช่วยเหลือตนเองได้)
  5. จัดงานพบปะแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นของคนพิการ
  6. สรุปประเมินผลโครงการ โดยการสำรวจความพึงพอใจ และพฤติกรรมที่แสดงออกของผู้พิการ/ทุพลภาพ ในการออกเยี่ยมของเจ้าหน้าที่ทุกฝ่าย
  7. นำปัญหาที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้พิการ มาปรับปรุงแก้ไขการบริการงานภาครัฐและการดำเนินโครงการดังกล่าวต่อไป

 

240 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลผู้พิการ
ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลผู้พิการมากขึ้น
240.00

 

2 เพื่อให้ผู้พิการมีความรู้ในการดูแลสุขภาพในชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วัด : ผู้พิการมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองมากขึ้น สามารถช่วยเหลือตนเองในการใช้ชีวิตประจำวันได้
240.00

 

3 เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแล มีคุณภาพชีวิต (จิตใจ) ที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลเข้าใจ คนพิการมากขึ้น ลดภาวะเครียดและแรงกดดันในการใช้ชีวิตประจำวัน
240.00

 

4 เพื่อออกเยี่ยมบ้าน ดูแลผู้พิการที่อยู่ห่างไกล และไม่สามารถเข้าถึงหน่วยบริการสาธารณสุขได้ พร้อม ทั้งค้นหาคนพิการรายใหม่ที่ยังไม่มีบัตรคนพิการ
ตัวชี้วัด : ผู้พิการสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้มากขึ้น
240.00

 

5 เพื่อค้นหาและสำรวจคนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้
ตัวชี้วัด : ผู้พิการได้รับการช่วยเหลือจากภาครัฐอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม
240.00

 

6 เพื่อนำปัญหาที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้พิการ มาปรับปรุงแก้ไขการบริการงานภาครัฐต่อไป
ตัวชี้วัด : รู้ถึงปัญหาและความต้องการของคนพิการในพื้นที่มากขึ้น เพื่อนำมาปรับแก้วิธีการทำงานต่อไป
240.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 240
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 240
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลผู้พิการ (2) เพื่อให้ผู้พิการมีความรู้ในการดูแลสุขภาพในชีวิตประจำวัน (3) เพื่อให้ผู้พิการและผู้ดูแล  มีคุณภาพชีวิต  (จิตใจ)  ที่ดีขึ้น (4) เพื่อออกเยี่ยมบ้าน  ดูแลผู้พิการที่อยู่ห่างไกล  และไม่สามารถเข้าถึงหน่วยบริการสาธารณสุขได้  พร้อม ทั้งค้นหาคนพิการรายใหม่ที่ยังไม่มีบัตรคนพิการ (5) เพื่อค้นหาและสำรวจคนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ (6) เพื่อนำปัญหาที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้พิการ  มาปรับปรุงแก้ไขการบริการงานภาครัฐต่อไป

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ค้นหาและสำรวจผู้พิการในเขตพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอที่ไม่สามารถ ช่วยเหลือตนเองได้  เพื่อให้รักษาทันท่วงที 2.จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้พิการ 3.ออกเยี่ยมบ้านผู้พิการติดบ้านติดเตียงในพื้นที่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

ความไม่พร้อมของพื้นที่ 1.ญาติไม่ให้ความร่วมมือในการรักษา  การทำกายภาพบำบัดอย่างต่อเนื่อง 2. คนพิการขาดความร่วมมือในการบริการทางการแพทย์ (ปฏิเสธการรักษา) 3. สิ่งแวดล้อมไม่เอื้ออำนวยกับผู้ป่วย

สถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่

หน่วยงานภาครัฐควรดึงประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ เกี่ยวกับการบริหารงานในพื้นที่ ที่มีผลกระทบ หรือมีโครงการในการดำเนินงานในพื้นที่


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้พิการ/ทุพพลภาพ ในตำบลดุซงญอ

รหัสโครงการ 61-L2476-2-08 ระยะเวลาโครงการ 15 มีนาคม 2561 - 30 มีนาคม 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้พิการ/ทุพพลภาพ ในตำบลดุซงญอ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2476-2-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางฮาสเม๊าะ อามิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด