กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการนวัตกรรมสุขภาพชุมชน ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ห่างไกลจากโรคแทรกซ้อน.
รหัสโครงการ 61-L5215-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขารูปช้าง
วันที่อนุมัติ 26 มกราคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2560 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2561
งบประมาณ 135,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายนำโชค ชำนาญวงศ์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.154,100.612place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ธ.ค. 2560 30 ก.ย. 2561 135,000.00
รวมงบประมาณ 135,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 700 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ที่นับวันจะเพิ่มมากขึ้น ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขต้องสูญเสียงบประมาณในการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปัญหาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานอย่างต่อเนื่อง จากการศึกษาข้อมูลสถิติในปี 2559 พบว่า ผู้ป่วยเบาหวานทั่วโลกเพิ่มมากขึ้น 4 ใน 5 เป็นชาวเอเชีย และจากรายงานของสำนักงานนโยบายและสาธารณสุข(ปี2555-2559) พบว่าสาเหตุการตายด้วยโรคเบาหวานมีอัตราเฉลี่ยร้อยละ 12สำหรับโรงพยาบาลสงขลาพบว่าในปี 2555,2556,2557,2558,2559 จำนวนผู้ป่วยเบาหวานผู้ป่วยนอกเท่ากับ 6,410 คน 6,815 คน 7,236 คน 7,613 คน และ7,770 คนตามลำดับ(ข้อมูลงานเวชระเบียน) ทำให้ทราบว่าความชุกของโรคเบาหวาน เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ จากการศึกษาประเมินผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง เบาหวาน-ความดันโลหิตสูง ที่มารับบริการ ณ โรงพยาบาลส่งเสริม พบว่าผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงขาดความรู้ในการดูแลตนเอง ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้คงที่ ไม่เคยได้รับการตรวจเท้าไม่รู้ว่าทำไมต้องตรวจเลือดไม่รู้วิธีการดูแลสุขภาพตนเองขาดความตระหนักในเรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเองมีพฤติกรรมการดูแลตนเองไม่เหมาะสมทั้งเรื่องการรับประทานอาหาร การกินยาการออกกำลังกาย การดูแลระดับน้ำตาลในเลือดการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน ว่ามีความสำคัญอย่างไรนั้นแสดงให้เห็นว่าผู้ป่วยมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนและเกิดผลกระทบจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มมากขึ้นทุกปี

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 65,700.00 1 135,000.00
อบรมภาคีเครือข่าย/แกนนำฯ เฝ้าระวัง/ดูแล/ติดตามผู้ป่วย ด้วยเครื่องมือนวัตกรรมสุขภาพ 0 65,700.00 135,000.00
  1. จัดอบรมให้ความรู้แก่ภาคีเครือข่าย /แกนนำสุขภาพ เรื่องการดูแลสุขภาพ และเฝ้าระวัง ป้องกันภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง
  2. จัดอบรมกลุ่มดูแลเพื่อนช่วยเพื่อนสำหรับผู้ป่วยโรงเรื้อรัง เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการควบคุมตนเอง 3.จัดอบรมพี่เลี้ยงและแกนนำ การประดิษฐ์และการใช้นวัตกรรมเครื่องมือดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวาน 4.ออกเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ที่ควบคุมตนเองไม่ได้และมีสภาวะแทรกซ้อน 5.จัดกิจกรรมนัดพบแพทย์ ในกรณีผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ที่ควบคุมตนเองไม่ได้และมีสภาวะแทรกซ้อน 6.ประเมินผล /สรุปผล /รายงานผลการดำเนินงานโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. มี แกนนำสุขภาพผ่านการอบรมและได้รับการพัฒนาศักยภาพ พร้อมทั้งประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง แบบผสมผสานได้ 2.ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ,โรคความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการติดตามดูแลเยี่ยมบ้านเพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน ภาวะแทรกซ้อน ลดความพิการซ้ำซ้อน ทุกราย
    3.มีนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ต้นทุนต่ำในการดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 ก.พ. 2561 10:00 น.