กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนฯปี2561
รหัสโครงการ 61-L1484-04-20
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองทุนฯ
วันที่อนุมัติ 30 เมษายน 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 26 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 80,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ กองทุนฯ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านนา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.302,99.699place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

ระบุ

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. ๒๕๕๗ ข้อ ๗ (๔) เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ต้องไม่เกินร้อยละ ๑๕ ของเงินรายรับของกองทุนหลักประกันสุขภาพในแต่ละปีงบ ประมาณนั้น และในกรณีที่มีความจำเป็นต้องใช้จ่ายเพื่อซื้อครุภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องโดยตรง ครุภัณฑ์นั้นจะต้องมีราคาไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาทต่อหน่วย โดยการจัดซื้อจัดจ้างให้ใช้ระเบียบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยอนุโลม และครุภัณฑ์ที่จัดหาได้ ให้อยู่ ในความดูแลและบำรุงรักษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น ๆ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลทุ่งยาวจึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลทุ่งยาวขึ้น เพื่อให้การบริหารและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลทุ่งยาวมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. ขั้นเตรียมการ
    1.2 ประชุมคณะทำงานเพื่อกำหนดรูปแบบและแนวทางการดำเนินงาน
    1.2 เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ
  2. ขั้นดำเนินการ
    2.1 ประเมินความรู้เรื่องการคุ้มครองผู้บริโภคก่อนและหลังการอบรม 2.2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในเรื่องสิทธิผู้บริโภค พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภคและกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค 2.3 จัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อปรับทัศนคติแก่กลุ่มเป้าหมาย 2.4 ลงพื้นที่สุ่มตรวจร้านขายของชำในพื้นที่
  3. สรุปผลการดำเนินโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการคุ้มครองผู้บริโภคสามารถนำไปพัฒนาปรับ ปรุงร้านค้า ร้านชำของตนเองให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น
  2. ร้านขายของชำในหมู่บ้านมีการจำหน่ายสินค้าที่มีคุณภาพมาตรฐานและมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภคในพื้นที่
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 ก.พ. 2561 11:06 น.