กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ อสม.ร่วมใจสร้างเสริมสุขภาพอนามัยคนด่านช้าง
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อสม.
วันที่อนุมัติ 28 ธันวาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2561 - 28 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 29 กันยายน 2561
งบประมาณ 40,743.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางคำพอง จังหวะ
พี่เลี้ยงโครงการ นายสังเวียน งาหัตถี
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลด่านช้าง อำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา
ละติจูด-ลองจิจูด 15.623,102.407place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานยาสูบ , แผนงานสุรา , แผนงานสิ่งเสพติด , แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 5 ม.ค. 2561 5 ม.ค. 2561 17,700.00
2 8 ม.ค. 2561 30 เม.ย. 2561 17,543.00
3 1 มี.ค. 2561 27 เม.ย. 2561 5,500.00
รวมงบประมาณ 40,743.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 167 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1496 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชากร(อายุมากกว่า 15 ปี) ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง
15.00
2 ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ
10.00
3 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
70.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลด ประชากร(อายุมากกว่า 15 ปี) ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง

ร้อยละของประชากร (อายุมากกว่า 15 ปี) ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วน ลงพุง

15.00 10.00
2 ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด

ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ

10.00 8.00
3 หมู่บ้านมีกิจกรรมการขยับกาย

ร้อยละของหมู่บ้านมีกิจกรรมขยับกาย

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
5 ม.ค. 61 - 5 พ.ค. 61 ทบทวนเป้าหมายและคัดกรองกลุ่มเสี่ยง 2417 17,543.00 -
5 ม.ค. 61 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพิ่มศักยภาพ อสม.แก่ อสม. 167 17,700.00 -
1 มี.ค. 61 - 28 ก.ย. 61 กิจกรรมออกกำลังกาย 200 0.00 -
26 มี.ค. 61 - 27 เม.ย. 61 ประชาคมสุขภาพเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย 820 5,500.00 -
รวม 3,604 40,743.00 0 0.00
  1. อสม. ทบทวนกลุ่มเป้าหมายในคุ้มของตนเอง
  2. ประชุมชี้แจง อสม.ในการดำเนินการคัดกรอง ค้นหาปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ ได้แก่ การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา การใช้สารเสพติด การป้องกันอุบัติเหตุ การบริโภคอาหารที่ปลอดภัย รวมถึงกิจกรรมทางกาย
  3. คัดกรองค้นหาปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ ความเสี่ยงสุขภาพ สรุปเป็นภาพรวมของคุ้ม หมู่บ้าน
  4. อสม.ประชุมลูกคุ้มตนเองและให้ความรู้ แนะนำแก่ประชาชนในคุ้มโดยเน้นสุขบัญญัติ 10 ประการ
  5. จัดกิจกรรมรณรงค์ให้ประชาชนมีกิจกรรมทางกาย ได้แก่ การออกกำลังกายทุกหมู่บ้าน การทำความสะอาดบ้านเรือน สิ่งแวดล้อมรอบบ้านและสาธารณะประโยชน์
  6. ร่วมกับผู้นำหมู่บ้านจัดกิจกรรมการรณรงค์ให้ความรู้แก่ผู้สูบบุหรี่ ดื่มสุราในการลด ละ เลิกบุหรี่โดยมีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขร่วมให้ความรู้
  7. รณรงค์ ประชาสัมพันธ์การจัดงานบุญปลอดเหล้า
  8. หามาตรการหมู่บ้าน ในการสร้างเสริมสุขภาพประชาชน
  9. ประเมินผลการดำเนินงาน
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ร้อยละ 95 ของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงสุขภาพ
    1. ทุกหลังคาเรือนได้รับความรู้ในการสร้างเสริมสุขภาพ
    2. หมู่บ้านมีมาตรการด้านสุขภาพ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 ก.พ. 2561 14:06 น.