กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคเลปโตสไปโรซีส (ฉี่หนู)
รหัสโครงการ 61-L1481-2-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อสม.หมู่ที่ 1
วันที่อนุมัติ 28 ธันวาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2561
งบประมาณ 8,933.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางปนัดดาพิชัยรัตน์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.354,99.674place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 215 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคฉี่หนู เป็นโรคที่พบเกิดได้ประปรายตลอดทั้งปี แต่จะพบได้มากในช่วงเดือนสิงหาคมถึงเดือนพฤศจิกายน ซึ่งเป็นช่วงที่มีน้ำขังหรือเกิดภาวะน้ำท่วมและมีเชื้อโรคขังอยู่ในน้ำ เมื่อคนเดินลุยน้ำหรือลงแช่น้ำก็จะมีโอกาสได้รับเชื้อนี้ แต่ในบางครั้งก็อาจพบการระบาดของโรคนี้ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่มีภาวะน้ำท่วม ชมรม อสม.หมู่ที่ 1 ตำบลท่าพญา มีความตระหนักถึงปัญหาและความสำคัญของการเกิดโรคฉี่หนู จึงมีความประสงค์ที่จะให้ความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคฉี่หนูให้แก่กลุ่มเป้าหมาย จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อป้องกันและควบคุมโรคฉี่หนู

 

0.00
2 เพื่อให้ความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคฉี่หนูในกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
  2. ประชุมวางแผนการทำงาน
  3. ดำเนินงานตามแผนงาน
  4. ประเมินผลและสรุปผลการดำเนินงาน
  5. รายงานผลการดำเนินโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนได้รับความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคฉี่หนู
  2. ประชาชนสามารถนำความรู้ไปใช้ในการป้องกันและควบคุมโรคฉี่หนูในครัวเรือน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 ก.พ. 2561 16:00 น.