กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
ลงสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบลตอหลัง โดย นายสมชาย ละอองพันธุ์31 ตุลาคม 2560
31
ตุลาคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย สุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ddddddddddddddddddddddddddddddddddddddddddd

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 1 คน จากที่ตั้งไว้ 10 คน
ประกอบด้วย
ประชุมทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัด เพื่อสรุปผลการเยี่ยมติดตาม(แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม,การบริหารจัดการของกองทุนสุขภาพตำบล,ระบบการับนทึกข้อมูลผ่านโปรแกรมออนไลน์)5 กันยายน 2560
5
กันยายน 2560รายงานจากพื้นที่ โดย รอมซี สาและ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

รายงานการประชุมสรุปผลสรุปผลการเยี่ยมติดตามกองทุนของพี่เลี้ยงระดับจังหวัด(Coaching team) ตามโครงการสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบลโดยพี่เลี้ยง จังหวัดปัตตานี ปี 2560
ครั้งที่ 3 วันที่ 5 กันยายน 2560 ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี
ผู้เข้าร่วมประชุม ชื่อ - สกุล ตำแหน่ง เบอร์มือถือ 1.นายรอมซี  สาและ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สสจ.ปัตตานี 0816796499 2.นายการียา  ยือแร ผอ.รพ.สต.ยะรัง 0898790760 3.นายอัลดุลกอเดร์  การีนา ผอ.กองสาธารณสุขอบต.บานา 0873948919 4.นายมะรอกี  เวาะเล็ง ผอ.กองสาธารณสุขทต.หนองจิก 0819909421 5.นางกัลยา  เอี่ยวสกุล ประธานศูนย์ประสานงานหลักประกันฯจ.ปัตตานี 0899752822 6.น.ส.ซาลีนา  กอเสง จพ.สาธารณสุขชุมชนปฏิบัติการ 0937937171 7.นายสมชาย ละอองพันธุ์ เภสัชกร สปสช. เขต 12 สงขลา 0866940954 ผู้ไม่มาประชุม         1. นายแวฮาซัน  โตะฮิเล  สสอ.หนองจิก                7.นางสาวอาซีซะ  กาเรง  อบต.บ้านน้ำบ่อ         2..นายอาแว  ลือโมะ  สสอ.ยะหริ่ง                        8.นายสราวุฒิ  วิชิตนันท์ สาธารณสุขอำเภอไม้แก่น         3.นายประสพพร  สังข์ทอง  ผอ.รพ.สต.นาเกตุ          9.นางวรรณพร  บัวสุวรรณ นวก.สาธารณสุขชำนาญการ         4.นางเต็มดวง  วงศา  ปลัดอบต.ดอนทราย            10.นายอดุลย์  มามะ ผอ.กองสาธารณสุขทม.ตะลุบัน         5.นายอับดุลตอเละ  จะปะกียา ผอ.กองสาธารณสุขอบต.เขาตูม 11.นางสาวรอปีซะ  มะมิง  อบต.ตะลุโบะ
        6.นางประภัสสร ขวัญกะโผะ  ปลัดอบต.นาเกตุ          12.นายแวอิลยัส  อีบุ๊      ผอ.รพ.สต.เมาะมาวี ประธาน นายรอมซี  สาและ เริ่มประชุมเวลา  09.30 น.
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งที่ประชุมทราบ                     1.1 การดำเนินโครงการสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบลโดยพี่เลี้ยง จังหวัดปัตตานี ปี 2560
มีทั้งหมด 4 กิจกรรมหลัก คือ
    1. ประชุม พัฒนา ทีมพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลระดับจังหวัดปัตตานี
        ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 2 พ.ค. 60 ณ ห้องประชุมสสจ.ปัตตานี         ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 18 พ.ค. 60 ณ ห้องประชุมสสจ.ปัตตานี
    2. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนสุขภาพตำบล ดังต่อไปนี้ วัน เดือน ปี พื้นที่ที่ลงเยี่ยม/ทีมพี่เลี้ยง 8 พ.ค. 60 อำเภอเมืองปัตตานี 7 แห่ง คืออบต.กะมิยอ, คลองมานิง, ตันหยงลุโละ, บานา, บาราโหม, บาราเฮาะ,
และทต,รูสะมิแล
โดยพี่เลี้ยงนายอับดุลกอเดร์ การีนากับนายรอมซี สาและ 9 พ.ค. 60 อำเภอหนองจิก 13 แห่ง คือ อบต.เกาะเปาะ, คอลอตันหยง, ดอนรัก, ยาบี, ดาโต๊ะ, ตุยง, ท่ากำชำ, ทต.บ่อทอง, บางเขา, บางตาวา, ปุโละปุโย, ลิปะสะโง, ทต,หนองจิก
โดยพี่เลี้ยงนายมะรอกี เวาะเล็ง,นายแวฮาซัน โตะฮิเล,นายอับดุลกอเดร์ การีนา,นายรอมซี สาและ และนางประภัสสร  ขวัญกะโผะ 19 พ.ค. 60 ในเขตอำเภอหนองจิก ครั้งที่ 2 จำนวน 13 แห่ง คืออบต.เกาะเปาะ, คอลอตันหยง, ดอนรัก, ยาบี, ดาโต๊ะ, ตุยง, ท่ากำชำ, ทต.บ่อทอง, บางเขา, บางตาวา, ปุโละปุโย, ลิปะสะโง และทต.หนองจิก โดยพี่เลี้ยงนายมะรอกี เวาะเล็ง, นายอับดุลกอเดร์ การีนา และนายรอมซี สาและ 25 พ.ค. 60 อำเภอทุ่งยางแดง 4 แห่ง คืออบต.ตะโละแมะนา, น้ำดำ, ปากู และพิเทน
โดยพี่เลี้ยงนายรอมซี และนายอับดุลกอเดร์ การีนา
25 พ.ค. 60 อำเภอโคกโพธิ์ 14 แห่ง คืออบต.ควนโนรี, ทรายขาว, ทุ่งพลา, ทต.นาประดู่, นาประดู่, ปากล่อ, ท่าเรือ, ทต.โคกโพธิ์, โคกโพธิ์, ช้างให้ตก, นาเกตุ, บางโกระ, ป่าบอน และมะกรูด
โดยพี่เลี้ยงนายประสพพร  สังข์ทอง และนางประภัสสร  ขวัญกะโผะ 6 มิ.ย. 60 อำเภอมายอ 11 แห่งคืออบต.กระเสาะ, เกาะจัน, ตรัง, ลุโบะยิไร, ปะโด, กระหวะ, ทต.มายอ, ลางา, ถนน, สะกำ และสาคอบน
โดยพี่เลี้ยงนายอับดุลตอเละ จะปะกียา, นายแวอิลยัส  อีบุ๊, นายการียา ยือแร,นายรอมซี สาและ
และนายอับดุลกอเดร์ การีนา
8 มิ.ย. 60 อำเภอสายบุรี,ไม้แก่น และกะพ้อจำนวน 16 แห่ง คืออบต.กะดุนง, ทต.เตราะบอน, มะนังดาลำ, ละหาร, ตะบิ้ง, บางเก่า, บือเระ, ปะเสยะวอ, ท.เมืองตะลุบัน, แป้น, ดอนทราย, ตะโละไกรทอง, ไทรทอง, กะรุบี, ตะโละดือรามัน และปล่องหอย, โดยพี่เลี้ยงนายอับดุลกอเดร์ การีนา, นายรอมซี  สาและ,นายอดุลย์ มามะ, นายศราวุธ วิชิตนันท์,
นางเต็มดวง  วงศา, น.ส.ซาลีนา  กอเสง และนางประภัสสร ขวัญกะโผะ 9 มิ.ย. 60 อำเภอทุ่งยางแดง ตำบลปากู จ.ปัตตานี ครั้งที่ 2
โดยพี่เลี้ยงนายรอมซี สาและ 12 มิ.ย. 60 อำเภอปะนาเระ จำนวน 10 แห่ง คืออบต.ควน, คอกกระบือ, ดอน, ท่าข้าม, ท่าน้ำ, บ้านกลาง, บ้านนอก, บ้านน้ำบ่อ, ทต.ปะนาเระ และทต.พ่อมิ่ง
โดยพี่เลี้ยงนายรอมซี สาและ, นายอับดุลกอเดร์ การีนา และนางสาวอาซีซะ กาเรง 13 มิ.ย. 60 อำเภอยะหริ่ง จำนวน 18 แห่ง คืออบต.จะรัง, ทต.ตอหลัง, ตาแกะ, ตาลีอายร์, ทต.บางปู, ปิยามุมัง, ยามู, ทต.ยะหริ่ง, ราตาปันยัง, ตะโละ, ตะโละกาโปร์, ทต.ตันหยง, ตันหยงดาลอ, บาโลย, ทต.มะนังยง, สาบัน, หนองแรต และแหลมโพธิ์
โดยพี่เลี้ยงนางวรรณพร บัวสุวรรณ, นายอาแว ลือโมะ,นายรอมซี สาและ, นายอับดุลกอเดร์ การีนา 14 มิ.ย. 60 อำเภอแม่ลาน จำนวน 3 แห่งคืออบต.ป่าไร่ อบต.ม่วงเตี้ย, อบต.แม่ลาน
โดยพี่เลี้ยงนายรอมซี สาและ, นายอับดุลกอเดร์ การีนา
15 มิ.ย. 60 อำเภอยะรัง จำนวน 13 แห่ง คืออบต.กระโด, กอลำ, เขาตูม, คลองใหม่, ปิตูมุดี, เมาะมาวี, วัด, ประจัน, ยะรัง, ทต.ยะรัง, ระแว้ง, สะดาวา และสะนอ
โดยพี่เลี้ยงนายการียายือแร, นายแวอิลยัส  อีบุ๊, นายอับดุลตอเละ จะปะกียา, นายมะรอกี เวาะเล็ง, นายรอมซี สาและ และนายอับดุลกอเดร์ การีนา
    3. สรุปผลการเยี่ยมติดตามกองทุนของพี่เลี้ยงระดับจังหวัด(Coaching team)
        วันนี้ที่ 5 ก.ย. 60 ณ ห้องประชุมสสจ.ปัตตานี
        หลังจากที่พี่เลี้ยงลงเยี่ยมติดตามจะต้องบันทึกการติดตามของพี่เลี้ยงผ่านโปรแกรม โดยใช้ Username/Password ของตนเอง http://localfund.happynetwork.org/project/trainer/730 โดยต้องระบุรายละเอียดตั้งแต่ชื่อกองทุน ชื่อผู้ที่ติดต่อของกองทุน เบอร์มือถือ รายละเอียดการติดตาม ผลการติดตาม (ประมาณ 6 – 8 บรรทัด) วันที่ติดตาม ตัวอย่างการลงบันทึกของพี่เลี้ยง นายรอมซี สาและ วันที่ลงเยี่ยม 25 พ.ค. 60 กองทุน : กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละแมะนา ชื่อผู้ติดต่อ : นายนพดล ดอเลาะ ตำแหน่งนักพัฒนาชุมชน 0810921320 ผลการติดตาม :
                1.มีแผนปฏิบัติงานกองทุนฯ ที่เกิดจากการทำประชาคม จากกลุ่มคนหลายภาคส่วน มีแผนงาน/โครงการ ปี 60 ทั้งหมด 11 โครงการ ใช้เงินทั้งสิ้น 356,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 49.39 ของงบประมาณทั้งหมด สรุปคือ ซึ่งมีการใช้เงินยังน้อยอยู่มาก จึงได้แนะนำให้ปรับแก้ไขแผนงานและประชาสัมพันธ์เปิดให้มีการเสนอโครงการเกี่ยวกับสุขภาวะเข้ามาจากกลุ่มองค์กรหรือหน่วยงานต่างๆที่มีในชุมชนให้ขอจากกองทุนมากขึ้น ให้เหลืองบประมาณร้อยละ10ของเงินทั้งหมด งบ7(4)ใช้ไป20,000บาทไม่เกินร้อยละ15ของงบปี60 งบ7(3)ใช้ไป30,000บาทร้อยละ4.16ของงบทั้งหมดแนะนำให้เพิ่มวงเงินตามเป้าหมายร้อยละ15-30 และงบ7(5)ยังไม่มีการอนุมัติในหลักการ แนะนำให้ตั้งไว้ร้อยละ 5-10 ของงบประมาณปี60                 2.การบริหารจัดการกองทุน   -มีการประชุมแล้ว 3 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 วันที่ 1 ธ.ค 59, ครั้งที่ 2 วันที่ 2 ก.พ.60 และครั้งที่ 3 วันที่ 17 พ.ค.60 มีการบันทึกวาระการประชุม บรรยากาศมีการนำเสนอโครงการเพื่อให้คณะกรรมการบริหารกองทุนพิจารณาอนุมัติทั้ง11โครงการ                 3.การบันทึกข้อมูลผ่านโปรแกรมhttp://www.localfund.happynetwork.org พบว่ามีการบันทึกข้อมูลในส่วนของข้อมูลทั่วไปได้อย่างถูกต้อง สมบูรณ์ มีการบันทึกโครงการทุกโครงการที่ได้รับการพิจารณาอนุมัติจากคณะกรรมการบริหารฯแต่ยังไม่ได้บันทึกการทำTOR,ยังไม่บันทึกรายละเอียดกิจกรรมหลักและกิจกรรมย่อย และมีการบันทึกการเบิกจ่ายไปแล้วในบางโครงการ
      4. ถอดบทเรียนทั้งระบบการใช้พี่เลี้ยงระดับจังหวัด(Coaching team)ต่อการดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบล มีการกำหนดจะจัดกิจกรรมวันที่ 27 กันยายน 2560 ณ โรงแรมในจังหวัดปัตตานี โดยกำหนดและคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายจากตัวแทนภาคส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้อง จำนวนทั้งหมด 42 คน ดังต่อไปนี้           - ส่วนท้องถิ่นระดับอำเภอ จำนวน 3 คน ได้แก่ท้องถิ่นยะรัง ไม้แก่น และหนองจิก           - ที่ปรึกษากองทุน(สาธารณสุขอำเภอ) จำนวน 3 คน ได้แก่สสอ.โคกโพธิ์ เมือง และแม่ลาน           - เลขากองทุนฯ จำนวน 9 คน ได้แก่อบต.ยะรัง ทม.เมืองปัตตานี ท่าข้าม สะกำ แหลมโพธิ์ แม่ลาน ปุโละปูโย ทต.ยะหริ่ง สาบัน           - ประธานกองทุนฯ จำนวน 3 คน ได้แก่ อบต.ยะรัง นาประดู่ และดอนรัก           - ผอ.รพ.สต. จำนวน 3 คน ได้แก่ ละหาร บ่อทอง และควน           - ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ จำนวน 3 คน ได้แก่ สาคอบน อบต.นาประดู่ และปล่องหอย           - พี่เลี้ยงระดับจังหวัด จำนวน 18 คน                   1.2 ชี้แจงทำความเข้าใจในเรื่องงบประมาณตามโครงการสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบลโดยพี่เลี้ยง จังหวัดปัตตานี ปี 2560  ดังต่อไปนี้ งวดสำหรับการทำรายงาน งวด วันที่งวดโครงการ วันที่งวดรายงาน
งบประมาณ(บาท) จากวันที่ ถึงวันที่ จากวันที่ ถึงวันที่
1 1 ม.ค. 2560 14 มี.ค. 2560 13,500.00 2 15 มี.ค. 2560 27 ก.ค. 2560 63,000.00 3 28 ก.ค. 2560 29 ก.ย. 2560 13,500.00 รวมงบประมาณ 90,000.00 วิธีการแบ่งจ่าย
สปสช.จะโอนทั้งหมด 3 งวด ซึ่งโอนมาแล้ว 2 งวด เหลืออีก 1 งวด รวมที่โอนมาแล้วงบประมาณ 76,500 บาท
เราจะแบ่งงบประมาณทั้งหมด 3 ส่วน
    ส่วนที่ 1 ค่าบริหารจัดการต่างๆ เช่น รายการหักค่าประกันวงเงิน,ภาษี,หักค่าอาหาร/อาหารว่างเวลานัดคุยประชุมทีม และอื่นๆ     ส่วนที่ 2 เป็นค่าตอบแทนพี่เลี้ยง(โดยคำนวณคร่าวๆจากการลงติดตามเยี่ยมกองทุนที่รับผิดชอบ)     ส่วนที่ 3 เราจะเก็บไว้ใช้งานจำนวนหนึ่งในกรณีจำเป็นที่ต้องทดรองจ่ายของปีหน้า ปี61 มติที่ประชุม.........รับทราบ......... ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว       ไม่มี ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเสนอเพื่อทราบ                   3.1 ทบทวนเป้าหมาย/ตัวชี้วัดกองทุนปี60 บทบาทพี่เลี้ยง ทักษะที่จำเป็นสำหรับพี่เลี้ยง เป้าหมาย ตัวชี้วัด การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ •บริหารเงินคงเหลือเงินไม่เกิน 10% (ไม่เกิน 80 ลบ.จาก 770 ลบ.)เกิดทีมพี่เลี้ยง(Coaching) จังหวัดละ 70 คน • เกิดระบบติดตามกองทุนสุขภาพตำบล Online (www.localfund.happynetwork.org) นวัตกรรมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพ • เกิดวัตกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพของกองทุนสุขภาพตำบล นโยบายสาธารณะด้านสุขภาพ • กองทุนสุขภาพตำบลจัดทำนโยบายสาธารณะด้านสุขภาพผ่านเครื่องมือธรรมนูญสุขภาพ 45 แห่ง     ทบทวนบทบาทพี่เลี้ยงระดับจังหวัด
ทำงานร่วมกับกรรมการกองทุนฯ 1.จัดทำแผนงานกองทุน 3-5 ปี
2.พัฒนา ปรับปรุง คุณภาพโครงการกองทุนฯให้การสนับสนุน 3.ติดตาม ประเมินผลโดยใช้โปรแกรมผ่านเว็บไซต์ ทักษะของพี่เลี้ยง     1. ความเข้าใจระเบียบบริหารกองทุน ฯ ปี 2557
    2. การวินิจฉัยข้อหารือเกี่ยวกับกองทุนฯ     3. แนวคิดด้านสุขภาวะ การสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค     4. การจัดทำแผนงานกองทุน
    5. การทำโครงการในประเด็นสำคัญ(ปัจจัยกำหนดสุขภาพ :SDH)     6. การประสานงาน-ให้คำปรึกษาของพี่เลี้ยง มติที่ประชุม.........รับทราบ......... ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา 4.1 สถานการณ์กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ในเขตจังหวัดปัตตานี ปี 60 ตารางที่ 1 แสดงรายงานสรุปจำนวนเงินสนับสนุนโครงการ และงบคงเหลือของกองทุน อำเภอ ยอดเงินคงเหลือ รายรับ รวมยอดเงินทั้งหมด งบประมาณโครงการ คงเหลือ สัดส่วนการใช้ สัดส่วนการใช้เทียบ ยกมา เทียบกับรายรับ(%) กับเงินทั้งหมด(%) 1.กะพ้อ 1,908,931.13 1,162,902.08 3,071,833.21 1,474,565 1,597,268.21 126.80 48.00 2.โคกโพธิ์ 6,121,769.21 4,997,987.35 11,119,756.56 5,475,659 5,644,097.56 109.56 49.24 3.ทุ่งยางแดง 2,223,182.37 1,661,363.34 3,884,545.71 1,635,630 2,248,915.71 98.45 42.11 4.ปะนาเระ 1,345,889.46 3,156,768.91 4,502,658.37 3,864,820 637,838.37 122.43 85.83 5.มายอ 3,614,003.24 3,749,081.38 7,363,084.62 3,526,295 3,836,789.62 94.06 47.89 6.เมืองปัตตานี 12,458,731.73 9,413,672.74 21,872,404.47 7,516,483 14,355,921.47 79.85 34.37 7.แม่ลาน 406,134.41 1,044,752.21 1,450,886.62 1,112,281 338,605.62 106.46 76.66 8.ไม้แก่น 907,021.92 931,260.74 1,838,282.66 884,098 954,184.66 94.94 48.09 9.ยะรัง 3,707,387.57 6,253,671.63 9,961,059.20 5,698,487 4,262,572.20 91.12 57.21 10.ยะหริ่ง 5,466,504.45 4,965,804.55 10,432,309.00 6,359,214 4,073,095.00 128.06 60.96 11.สายบุรี 10,458,493.22 4,656,630.05 15,115,123.27 4,677,722 10,437,401.27 100.45 30.95 12.หนองจิก 4,716,869.36 5,144,721.57 9,861,590.93 6,474,134 3,387,456.93 125.84 65.65 รวมทั้งหมด 53,334,918.07 47,138,616.55 100,473,534.62 48,699,388 51,774,146.62 103.31 48.47 จากตารางที่ 1 กองทุนสุขภาพตำบลในจังหวัดปัตตานี สนับสนุนโครงการแล้ว 48.6 ล้านบาท หรือ คิดเป็น 103.31 % ของรายรับปี 60 (47 ล้านบาท) อำเภอที่มีการสนับสนุนโครงการมากที่สุดคือ ยะหริ่ง กะพ้อ และหนองจิก
แต่เมื่อรวมยอดเงินทั้งหมด(100ล้านบาท) สัดส่วนการสนับสนุนโครงการทั้งหมด เท่ากับร้อยละ 48.47 อำเภอที่มีการสนับสนุนมากที่สุดคือ ปะนาเระ  แม่ลาน และหนองจิกตามลำดับ ตารางที่ 2 แสดงรายงานสรุปเงินคงเหลือ และสัดส่วนการใช้จ่ายของกองทุนภาพรวมการเบิกเงิน(ทำฎีกา) ผ่านระบบเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล รายอำเภอ อำเภอ ยอดเงินคงเหลือยกมา รายรับทั้งหมด รายจ่าย เงินคงเหลือ สัดส่วนการใช้เทียบกับรายรับ(%) สัดส่วนการใช้เทียบกับเงินทั้งหมด(%) 1.กะพ้อ 1,908,931.13 1,161,631.94 1,317,770.00 1,752,793.07 113.44 (1) 42.92 2.โคกโพธิ์ 6,121,769.21 4,974,635.62 4,086,713.00 7,009,691.83 82.15 36.83 3.ทุ่งยางแดง 2,223,182.37 1,664,838.34 996,657.00 2,891,363.71 59.87 25.63 4.ปะนาเระ 1,345,889.46 3,184,468.91 2,584,341.00 1,946,017.37 81.15 57.04 (1) 5.มายอ 3,614,003.24 3,749,496.51 2,143,980.00 5,219,519.75 57.18 29.12 6.เมืองปัตตานี 12,458,731.73 9,464,554.74 6,684,313.00 15,238,973.47 70.62 30.49 7.แม่ลาน 406,134.41 1,044,752.21 681,683.00 769,203.62 65.25 46.98 (3) 8.ไม้แก่น 907,021.92 931,260.74 591,238.00 1,247,044.66 63.49 32.16 9.ยะรัง 3,707,387.57 5,988,875.93 3,919,756.00 5,776,507.50 65.45 40.43 10.ยะหริ่ง 5,466,504.45 4,985,570.44 4,266,265.00 6,185,809.89 85.57 (3) 40.82 11.สายบุรี 10,458,493.22 4,704,480.30 2,613,436.00 12,549,537.52 55.55 17.24 12.หนองจิก 4,716,869.36 5,180,421.57 4,818,009.00 5,079,281.93 93 (2) 48.68 (2) รวมทั้งหมด 53,334,918.07 47,034,987.25 34,704,161.00 65,665,744.32 73.78 34.58               จากตารางที่ 2 ออกฎีกาเบิกเงินแล้ว 34.7 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 73.78 ของรายรับปี 60 อำเภอที่มีการเบิกมากที่สุด คือ กะพ้อ หนองจิก และยะหริ่ง แต่เมื่อรวมเงินคงเหลือสะสมจากปีก่อน (53 ล้านบาท) อัตราการเบิกเงินภาพรวมจังหวัด เท่ากับร้อยละ 34.58 อำเภอที่มีการเบิกมากที่สุดคือปะนาเระ หนองจิก และแม่ลานตามลำดับ               4.2 ปัญหาสำคัญที่จำเป็นต้องพัฒนา คือ
                    4.2.1 เงินคงเหลือในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่เป็นจำนวนมาก ข้อมูล ณ กันยายน 2560 มีเงินคงเหลือ 51 ล้านบาท รับโอนเงินเป็นค่าเหมาจ่ายรายหัวประชากรปี61 จำนวน 31 ล้านบาท หากยังไม่นับรวมการโอนเงินสมทบเข้ากองทุนฯขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามสัดส่วน จะทำให้มีเงินค้างท่อในระบบจำนวนมาก
                          วิเคราะห์สาเหตุ                               1) กลัวการตรวจสอบของหน่วยงานตรวจสอบภายนอก เช่น สตง. เป็นต้น                               2) ศักยภาพของคณะกรรมการกองทุนที่ขาดความรู้และเข้าใจ ตลอดจนประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
                    4.2.2 คุณภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ยังขาดการพัฒนาคุณภาพกองทุนฯ ปรากฏหลักฐานชัดเจนจากการลงติดตามเยี่ยมของพี่เลี้ยงระดับจังหวัด มีกองทุนฯหลายแห่งยังไม่มีแผนสุขภาพ หรือกรอบแผนงานด้านสุขภาพของพื้นที่ ส่งผลให้การตัดสินใจใช้เงินไม่มีทิศทาง และขาดการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆของชุมชน การขาดความเข้าใจเกี่ยวกับระเบียบหรือวิธีปฏิบัติของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ดังนั้น จึงเป็นโจทย์สำคัญของ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขต 12 สงขลา จำเป็นต้องสร้างการมีส่วนร่วมในการกำหนดทิศทางการพัฒนาคุณภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
              4.3 จุดเด่น                   4.3.1 การมีพื้นที่ต้นแบบด้านการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เช่น ต.นาเกตุ อ.โคกโพธิ์ หรือกองทุนสุขภาพตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง พื้นที่เหล่านี้จะสร้างเครื่องมือที่หลากหลาย มีการใช้ประโยชน์ในพิจารณาการคัดกรองโครงการจากเครือข่ายในพื้นที่                   4.3.2 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขต 12 สงขลา ได้มีการพัฒนาโปรแกรมระบบบริหารกองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้ออนไลน์ www.localfund.happynetwork.org เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลกลางทางสื่อสารผ่านเว็บไซต์ (โปรแกรมบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบลแบบออนไลน์เดิมมีข้อจากัด) ซึ่งใช้เป็นเครื่องมืออำนวยความสะดวกแก่กองทุน และสามารถกำกับติดตาม รวมถึงการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับกองทุนสุขภาพตำบลได้อย่างมีประสิทธิภาพ                   4.3.3 มีระบบติดตามโดยพี่เลี้ยงระดับจังหวัด ซึ่งประกอบด้วยตัวแทนจากหลายภาคส่วน (coaching team) ประจำกองทุนฯเพื่อสนับสนุนการทางานของกองทุนสุขภาพตำบล
              4.4 จุดอ่อน                   4.4.1 การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ถูกทำให้กลายเป็นตัวบุคคลมากเกินไป ขาดการจัดวางระบบการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ส่งผลให้เวลาคนย้าย การบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่จะหยุดชะงักหรือไม่ดี                   4.4.2 คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ขาดความเข้าใจเรื่อง บทบาทและระเบียบกองทุน ดังนั้น ควรมีกลไกทำความเข้าใจแก่กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ในระดับอำเภอ                   4.4.3 กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่มีปัญหา 2 เรื่อง คือ 1) ใช้ไม่ได้ ไม่เป็นไปตามระเบียบ 2) ใช้ไม่เป็น ขาดความสามารถจัดทำชุดโครงการ                   4.4.4 ระเบียบทางการเงินของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับพื้นที่ซึ่งรับเงินสนับสนุนโครงการด้านสุขภาพเพื่อจัดบริการสุขภาพ การรักษา ส่งเสริม ป้องกันและฟื้นฟูโรคผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ไม่เอื้ออำนวยต่อการใช้จ่ายงบประมาณ เช่น โครงการฯต้องผ่านการเห็นชอบจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด หรือ การไม่สามารถเปิดบัญชีแยกของ รพ.สต.ในการรับเงินสนับสนุนโครงการจากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ส่งผลให้ข้อมูลเงินบำรุงของ รพ.สต.สูงกว่าความเป็นจริง                   4.4.5 การเริ่มต้นดำเนินงานกองทุนล่าช้ามาก กว่าจะได้เริ่มขับเคลื่อนจนถึงปลายไตรมาส 2 (กุมภาพันธ์ –มีนาคม)หน่วยบริการในพื้นที่ขอรับการสนับสนุนล่าช้า ทำให้ประชาชนขาดโอกาส
              4.5 โอกาส                   4.5.1 ควรจัดทำแผนที่ทางเดินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ (mapping) ให้สามารถสถานการณ์ปัญหา เห็นตัวอย่างหรือนวตกรรม พื้นที่ต้นแบบ ตัวบุคคลหรือ เครือข่าย ตลอดจนแหล่งงบประมาณ และนำข้อมูลดังกล่าวข้างต้นมาจัดลำดับความสำคัญ (priority) ของปัญหากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ และจัดทำทางเดินยุทธศาสตร์พัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ (Roadmap)                   4.5.2 พื้นทีตำบลจะมีหลายองค์กรและหลายเครื่องมือมาทำงานด้านสุขภาวะชุมชน เช่น DHML –สำนักงานสาธารณสุข CHIA,ธรรมนูญสุขภาพ-สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ตำบลจัดการสุขภาพ-สำนักงานวิชาการอนามัย กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ –การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพึง(LTC)-สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เป็นต้น ดังนั้นควรหาช่องทางบูรณาการเข้าด้วยกันหรือ แยกกันทำงานเพื่อป้องกันหรือลดการทำงานซ้ำซ้อน 4.6.ภาวะคุกคาม
                4.6.1 ปัจจัยวัฒนธรรมการเมืองท้องถิ่นมีผลต่อการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เช่น การทำโครงการที่เป็นการสร้างคะแนนเสียงหรือฐานเสียงของผู้บริหารส่วนท้องถิ่น อันมีผลต่อความสอดคล้องของการใช้เงินกับระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่                 4.6.2 ระเบียบทางการเงินของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ส่งผลให้การบริหารงานและเงิน ยุ่งยาก โดยเฉพาะการให้เงินสนับสนุนกับกลุ่มหรือองค์กรประชาชน บางแห่งต้องการคืนและไม่อยากรับเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่                 4.6.3 การยกเลิกสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติระดับจังหวัด ซึ่งมีสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเป็นตัวจักรสำคัญ ส่งผลให้การกำกับติดตาม และเชื่อมประสานงานระหว่างกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ กับ สปสช. มติที่ประชุม.........รับทราบและถือปฏิบัติ......... ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ       ไม่มี เลิกประชุม เวลา 13.30 น. ผู้จดรายงาน     ผู้ตรวจสอบ (นายนายรอมซี  สาและ)     (นายแวฮาซัน  โต๊ะฮีเล) ตำแหน่ง เลขาฯพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลฯ     ตำแหน่ง ประธานพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลฯ

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 18 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย
พี่เลี้ยงลงเยี่ยมกองทุนสุขภาพตำบลในเขตอำเภอยะรัง จำนวน 13 แห่ง คืออบต.กระโด, กอลำ, เขาตูม, คลองใหม่, ปิตูมุดี, เมาะมาวี, วัด, ประจัน, ยะรัง, ทต.ยะรัง, ระแว้ง, สะดาวา และสะนอ โดยพี่เลี้ยง นายการียายือแร, นายแวอิลยัสอีบุ๊ และนายอับดุลตอเละจะปะกียา15 มิถุนายน 2560
15
มิถุนายน 2560รายงานจากพื้นที่ โดย รอมซี สาและ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมแห่งละ 2 คน ได้แก่ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กระโด,กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กอลำ,กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม,กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองใหม่,กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประจัน,กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิตูมุดี,กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เมาะมาวี,กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง,กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะรัง,กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระแว้ง,กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัด, กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา,กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะนอ และมีพี่เลี้ยงเข้าร่วมจำนวน 5 คน ได้แก่ นายรอมซี สาและ,นายอัลดุลกอเดร์ การีนา,นายมะรอกี เวาะเลง,นายอับดุลตอเละ จะปะกียา พูดคุย 2 section คือพี่เลี้ยงบรรยาย และกองทุนนำเสนอตัวเอง
พี่เลี้ยงบรรยายในประเด็น
1.การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ข้อ4 ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงาน และบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน2.สถานการณ์เงินคงเหลือจังหวัดปัตตานี ปี 60และอำเภอหนองจิกโจทย์สำคัญ
2.1 ทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเอง
2.2 ทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์ต่างๆ
เป้าหมาย: แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% (ไม่เกิน 10 ล้านบาท)

  1. สิ่งที่เปลี่ยนหลักๆจากเดิม เริ่มตั้งแต่ ปีงบ 60 ได้แก่ 3.1โปรแกรมกองทุนสุขภาพตำบลเดิม http://obt.nhso.go.th ใช้ทั้งประเทศ ปัจจุบัน http://www.localfund.happynetwork.orgค้นจากเว็บ www.google.co.th พิมพ์คำว่า “กองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้” ใช้เฉพาะสปสช.เขต 12 สงขลา 7 จังหวัด(สงขลา,ตรัง,พัทลุง,สตูล,ปัตตานี,ยะลา,นราธิวาส)
    3.2 ใช้กลไกพี่เลี้ยงกองทุน(Coaching)ระดับจังหวัด ปัตตานี 18 คน สปสช.เขต 12 สงขลาแต่งตั้ง (กองทุน 1 แห่ง/พี่เลี้ยง 1 คน) พี่เลี้ยง 1 คน/รับผิดชอบกองทุน 3-9 แห่ง 3.3พี่เลี้ยงกองทุน(Coaching)ระดับจังหวัด ทำหน้าที่ทำงานร่วมกับกรรมการกองทุนฯ 3.3.1จัดทำแผนงานกองทุน 3-5 ปี 3.3.2พัฒนา ปรับปรุง คุณภาพโครงการกองทุนฯให้การสนับสนุน 3.3.3ติดตาม ประเมินผลโดยใช้โปรแกรมผ่านเว็บไซต์

งบประมาณ 1. ใช้งบบริหารกองทุน ข้อ7(4) ในการทำแผนและพัฒนาโครงการกองทุนฯละ 5,000 บาท (ค่าวิทยากร 600 บาท/ชม.ค่าเดินทางภายในจังหวัด)
2. การติดตาม ประเมินผล ใช้งบโครงการแต่ละโครงการ เช่น งบวิทยากร
เราจะช่วยกันดูในวันนี้คือ
1. การบันทึกข้อมูล
2. แผนงาน/โครงการ
3. การบริหารจัดการ เช่น การพิจารณาอนุมัติแผนงาน/โครงการ (ประชุมกี่ครั้งแล้ว)
4. การเบิกจ่ายเงิน เช่น การรับเงิน สปสช. เงินสมทบอปท. เงินโครงการต่างๆ
5. ลำดับการพิจารณาอนุมัติและบันทึกโครงการในโปรแกรม - เริ่มจาก 7(4), 7(5), 7(3), 7(1), 7(2)

ผลลัพธ์(Outcome)กองทุนมีการบันทึกข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นต้น เป็นปัจจุบัน และกองทุนที่มีงบคงเหลือหลักล้านจะต้องทำแผนระยะ3-5ปีรองรับ

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 22 คน จากที่ตั้งไว้ 32 คน
ประกอบด้วย
พี่เลี้ยงลงเยี่ยมกองทุนสุขภาตำบลในเขตอำเภอแม่ลาน จำนวน 3 แห่งคืออบต.ป่าไร่ อบต.ม่วงเตี้ย อบต.แม่ลาน โดยพี่เลี้ยงนางกัลยา เอี่ยวสกุล14 มิถุนายน 2560
14
มิถุนายน 2560รายงานจากพื้นที่ โดย รอมซี สาและ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมแห่งละ 2 คน และตัวแทนจากสสอ.แม่ลาน 1 คน ได้แก่ ป่าไร่ 1 คน,ม่วงเตี้ย 2 คน และแม่ลาน 4 คน และมีพี่เลี้ยงเข้าร่วมจำนวน 2 คน ได้แก่ นายรอมซี สาและ และนายอัลดุลกอเดร์ การีนา พูดคุย 2 section คือพี่เลี้ยงบรรยาย และกองทุนนำเสนอตัวเอง พี่เลี้ยงบรรยายในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ข้อ๔ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงาน และบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือจังหวัดปัตตานี ปี 60และอำเภอหนองจิกโจทย์สำคัญ 2.1ทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเอง 2.2ทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์ต่างๆ
เป้าหมาย: แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% (ไม่เกิน 10 ล้านบาท) 3. สิ่งที่เปลี่ยนหลักๆจากเดิม เริ่มตั้งแต่ ปีงบ 60 ได้แก่ 3.1โปรแกรมกองทุนสุขภาพตำบลเดิม http://obt.nhso.go.th ใช้ทั้งประเทศ ปัจจุบัน http://www.localfund.happynetwork.orgค้นจากเว็บ www.google.co.th พิมพ์คำว่า “กองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้” ใช้เฉพาะสปสช.เขต 12 สงขลา 7 จังหวัด(สงขลา,ตรัง,พัทลุง,สตูล,ปัตตานี,ยะลา,นราธิวาส)3.2ใช้กลไกพี่เลี้ยงกองทุน(Coaching)ระดับจังหวัด ปัตตานี 18 คน สปสช.เขต 12 สงขลาแต่งตั้ง (กองทุน 1 แห่ง/พี่เลี้ยง 1 คน) พี่เลี้ยง 1 คน/รับผิดชอบกองทุน 3-9 แห่ง 3.3พี่เลี้ยงกองทุน(Coaching)ระดับจังหวัด ทำหน้าที่ทำงานร่วมกับกรรมการกองทุนฯ 3.3.1จัดทำแผนงานกองทุน 3-5 ปี
3.3.2พัฒนา ปรับปรุง คุณภาพโครงการกองทุนฯให้การสนับสนุน 3.3.3ติดตาม ประเมินผลโดยใช้โปรแกรมผ่านเว็บไซต์ งบประมาณ 1.ใช้งบบริหารกองทุน ข้อ7(4) ในการทำแผนและพัฒนาโครงการกองทุนฯละ 5,000 บาท (ค่าวิทยากร 600 บาท/ชม.ค่าเดินทางภายในจังหวัด) 2.การติดตาม ประเมินผล ใช้งบโครงการแต่ละโครงการ เช่น งบวิทยากร
เราจะช่วยกันดูในวันนี้คือ 1.การบันทึกข้อมูล 2.แผนงาน/โครงการ 3.การบริหารจัดการ เช่น การพิจารณาอนุมัติแผนงาน/โครงการ (ประชุมกี่ครั้งแล้ว) 4.การเบิกจ่ายเงิน เช่น การรับเงิน สปสช. เงินสมทบอปท. เงินโครงการต่างๆ 5 ลำดับการพิจารณาอนุมัติและบันทึกโครงการในโปรแกรม - เริ่มจาก 7(4), 7(5), 7(3), 7(1), 7(2)
ผลลัพธ์(Outcome)กองทุนมีการบันทึกข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นต้น เป็นปัจจุบัน และกองทุนที่มีงบคงเหลือหลักล้านจะต้องทำแผนระยะ3-5ปีรองรับ

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 7 คน จากที่ตั้งไว้ 12 คน
ประกอบด้วย
พี่เลี้ยงลงเยี่ยมกองทุนสุขภาพตำบลในเขตอำเภอยะหริ่ง จำนวน 18 แห่ง คืออบต.จะรัง, ทต.ตอหลัง, ตาแกะ, ตาลีอายร์, ทต.บางปู, ปิยามุมัง, ทต.ยะหริ่ง, ยามู, ราตาปันยัง, ตะโละ, ตะโละกาโปร์, ทต.ตันหยง, ตันหยงดาลอ, บาโลย, ทต.มะนังยง, สาบัน, หนองแรต และแหลมโพธิ์ โดยพี่13 มิถุนายน 2560
13
มิถุนายน 2560รายงานจากพื้นที่ โดย รอมซี สาและ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมแห่งละ 2 คน และตัวแทนจากสสอ.และรพช. 2 คน ได้แก่ อบต.จะรัง,เทศบาลตำบลตอหลัง,อบต.ตะโละ,อบต.ตะโละกาโปร์,เทศบาลตำบลตันหยง,อบต.ตันหยงดาลอ,อบต.ตาแกะ,อบต.ตาลีอายร์,เทศบาลตำบลบางปู,อบต.บาโลย,อบต.ปิยามุมัง,อบต.มะนังยง,เทศบาลตำบลยะหริ่ง,อบต.ยามู,อบต.ราตาปันยัง,อบต.สาบัน,อบต.หนองแรต,อบต.แหลมโพธิ์ และมีพี่เลี้ยงเข้าร่วมจำนวน 4 คน ได้แก่ นายรอมซีสาและ,นายอัลดุลกอเดร์การีนา,นางวรรณพร บัวสุวรรณ และนายอาแว ลือโมะ พูดคุย 2 section คือพี่เลี้ยงบรรยาย และกองทุนนำเสนอตัวเอง พี่เลี้ยงบรรยายในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ข้อ๔ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงาน และบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือจังหวัดปัตตานี ปี 60และอำเภอหนองจิกโจทย์สำคัญ 2.1ทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเอง 2.2ทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์ต่างๆ
เป้าหมาย: แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% (ไม่เกิน 10 ล้านบาท) 3. สิ่งที่เปลี่ยนหลักๆจากเดิม เริ่มตั้งแต่ ปีงบ 60 ได้แก่ 3.1โปรแกรมกองทุนสุขภาพตำบลเดิม http://obt.nhso.go.th ใช้ทั้งประเทศ ปัจจุบัน http://www.localfund.happynetwork.orgค้นจากเว็บ www.google.co.th พิมพ์คำว่า “กองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้” ใช้เฉพาะสปสช.เขต 12 สงขลา 7 จังหวัด(สงขลา,ตรัง,พัทลุง,สตูล,ปัตตานี,ยะลา,นราธิวาส)3.2ใช้กลไกพี่เลี้ยงกองทุน(Coaching)ระดับจังหวัด ปัตตานี 18 คน สปสช.เขต 12 สงขลาแต่งตั้ง (กองทุน 1 แห่ง/พี่เลี้ยง 1 คน) พี่เลี้ยง 1 คน/รับผิดชอบกองทุน 3-9 แห่ง 3.3พี่เลี้ยงกองทุน(Coaching)ระดับจังหวัด ทำหน้าที่ทำงานร่วมกับกรรมการกองทุนฯ 3.3.1จัดทำแผนงานกองทุน 3-5 ปี
3.3.2พัฒนา ปรับปรุง คุณภาพโครงการกองทุนฯให้การสนับสนุน 3.3.3ติดตาม ประเมินผลโดยใช้โปรแกรมผ่านเว็บไซต์ งบประมาณ 1.ใช้งบบริหารกองทุน ข้อ7(4) ในการทำแผนและพัฒนาโครงการกองทุนฯละ 5,000 บาท (ค่าวิทยากร 600 บาท/ชม.ค่าเดินทางภายในจังหวัด) 2.การติดตาม ประเมินผล ใช้งบโครงการแต่ละโครงการ เช่น งบวิทยากร
เราจะช่วยกันดูในวันนี้คือ 1.การบันทึกข้อมูล 2.แผนงาน/โครงการ 3.การบริหารจัดการ เช่น การพิจารณาอนุมัติแผนงาน/โครงการ (ประชุมกี่ครั้งแล้ว) 4.การเบิกจ่ายเงิน เช่น การรับเงิน สปสช. เงินสมทบอปท. เงินโครงการต่างๆ 5 ลำดับการพิจารณาอนุมัติและบันทึกโครงการในโปรแกรม - เริ่มจาก 7(4), 7(5), 7(3), 7(1), 7(2)
ผลลัพธ์(Outcome)กองทุนมีการบันทึกข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นต้น เป็นปัจจุบัน และกองทุนที่มีงบคงเหลือหลักล้านจะต้องทำแผนระยะ3-5ปีรองรับ

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 40 คน
ประกอบด้วย
พี่เลี้ยงลงเยี่ยมติดตามกองทุนสุขภาพตำบลรายกองทุนในเขตอำเภอปะนาเระ จำนวน 10 แห่งคืออบต.ควน, คอกกระบือ, ดอน, ท่าข้าม, ท่าน้ำ, บ้านกลาง, บ้านนอก, บ้านน้ำบ่อ, ทต.ปะนาเระ และทต.พ่อมิ่ง โดยพี่เลี้ยง นายรอมซีสาและ และนางสาวอาซีซะ กาเรง12 มิถุนายน 2560
12
มิถุนายน 2560รายงานจากพื้นที่ โดย รอมซี สาและ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมแห่งละ 2 คน และตัวแทนจากสสอ.ปะนาเระ 2 คน ได้แก่ คอกกระบือ,ดอน,ท่าข้าม,ท่าน้ำ,บ้านกลาง,บ้านนอก,บ้านน้ำบ่อ, เทศบาลตำบลปะนาเระ,เทศบาลตำบลพ่อมิ่ง และมีพี่เลี้ยงเข้าร่วมจำนวน 3 คน ได้แก่ นายรอมซีสาและ,นายอัลดุลกอเดร์การีนา และนางสาวอาซีซะ กาเรงพูดคุย 2 section คือพี่เลี้ยงบรรยาย และกองทุนนำเสนอตัวเอง
พี่เลี้ยงบรรยายในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ข้อ๔ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงาน และบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน2.สถานการณ์เงินคงเหลือจังหวัดปัตตานี ปี 60 และอำเภอหนองจิกโจทย์สำคัญ 2.1ทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเอง
2.2ทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์ต่างๆ เป้าหมาย: แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% (ไม่เกิน 10 ล้านบาท)
3. สิ่งที่เปลี่ยนหลักๆจากเดิม เริ่มตั้งแต่ ปีงบ 60 ได้แก่ 3.1โปรแกรมกองทุนสุขภาพตำบลเดิม http://obt.nhso.go.th ใช้ทั้งประเทศ ปัจจุบัน http://www.localfund.happynetwork.orgค้นจากเว็บ www.google.co.th พิมพ์คำว่า “กองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้” ใช้เฉพาะสปสช.เขต 12 สงขลา 7 จังหวัด(สงขลา,ตรัง,พัทลุง,สตูล,ปัตตานี,ยะลา,นราธิวาส)3.2ใช้กลไกพี่เลี้ยงกองทุน(Coaching)ระดับจังหวัด ปัตตานี 18 คน สปสช.เขต 12 สงขลาแต่งตั้ง (กองทุน 1 แห่ง/พี่เลี้ยง 1 คน) พี่เลี้ยง 1 คน/รับผิดชอบกองทุน 3-9 แห่ง 3.3พี่เลี้ยงกองทุน(Coaching)ระดับจังหวัด ทำหน้าที่ทำงานร่วมกับกรรมการกองทุนฯ
3.3.1จัดทำแผนงานกองทุน 3-5 ปี 3.3.2พัฒนา ปรับปรุง คุณภาพโครงการกองทุนฯให้การสนับสนุน
3.3.3ติดตาม ประเมินผลโดยใช้โปรแกรมผ่านเว็บไซต์
งบประมาณ
1.ใช้งบบริหารกองทุน ข้อ7(4) ในการทำแผนและพัฒนาโครงการกองทุนฯละ 5,000 บาท (ค่าวิทยากร 600 บาท/ชม.ค่าเดินทางภายในจังหวัด)
2.การติดตาม ประเมินผล ใช้งบโครงการแต่ละโครงการ เช่น งบวิทยากร เราจะช่วยกันดูในวันนี้คือ 1.การบันทึกข้อมูล
2.แผนงาน/โครงการ
3.การบริหารจัดการ เช่น การพิจารณาอนุมัติแผนงาน/โครงการ (ประชุมกี่ครั้งแล้ว) 4.การเบิกจ่ายเงิน เช่น การรับเงิน สปสช. เงินสมทบอปท. เงินโครงการต่างๆ
5 ลำดับการพิจารณาอนุมัติและบันทึกโครงการในโปรแกรม - เริ่มจาก 7(4), 7(5), 7(3), 7(1), 7(2) ผลลัพธ์(Outcome)กองทุนมีการบันทึกข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นต้น เป็นปัจจุบัน และกองทุนที่มีงบคงเหลือหลักล้านจะต้องทำแผนระยะ3-5ปีรองรับ

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 23 คน จากที่ตั้งไว้ 22 คน
ประกอบด้วย
พี่เลี้ยงลงเยี่ยมกองทุนสุขภาพตำบลปากู อ.ทุ่งยางแดง จ.ปัตตานี ครั้งที่ 2 โดยพี่เลี้ยงนายรอมซี สาและ9 มิถุนายน 2560
9
มิถุนายน 2560รายงานจากพื้นที่ โดย รอมซี สาและ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีกรรมการ,เจ้าหน้าที่กองทุน,ที่ปรึกษากองทุนและผู้รับผิดชอบงานในสนง.สาธารณสุขอำเภอ เข้าร่วมประชุมรวม 5 คน และมีพี่เลี้ยงเข้าร่วมจำนวน 1 คน ได้แก่ นายรอมซี สาและ ได้แนะนำพูดคุย/ฝึกปฏิบัติการบันทึกข้อมูล รวมทั้งแนวทางการบริหารจัดการ การจัดทำแผนงาน3-5ปี 1.ทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเอง 2.ทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์ต่างๆ
เป้าหมาย: แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10%
ผลลัพธ์(Outcome)กองทุนมีการบันทึกข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นต้น เป็นปัจจุบัน

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 5 คน จากที่ตั้งไว้ 5 คน
ประกอบด้วย
พี่เลี้ยงลงพื้นที่เยี่ยมติดตามกองทุนสุขภาพตำบลในเขตอำเภอสายบุรี,ไม้แก่น และกะพ้อจำนวน 16 แห่งคืออบต.กะดุนง, ทต.เตราะบอน, มะนังดาลำ, ละหาร, ตะบิ้ง, บางเก่า, บือเระ, ปะเสยะวอ, แป้น, ท.เมืองตะลุบัน, กะรุบี, ตะโละดือรามัน, ปล่องหอย, ดอนทราย, ตะโละไกรทอง และไท8 มิถุนายน 2560
8
มิถุนายน 2560รายงานจากพื้นที่ โดย รอมซี สาและ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมแห่งละ 2 คน และตัวแทนจากรพ.สต.และสสอ.สายบุรี ได้แก่ กะดุนง,ตะบิ้ง,เทศบาลเมืองตะลุบัน,เทศบาลตำบลเตราะบอน,บางเก่า,บือเระ,ปะเสยะวอ,แป้น,มะนังดาลำ,ละหาร,อำเภอไม้แก่น 3 แห่ง คือดอนทราย,ตะโละไกรทอง,ไทรทอง และอำเภอกะพ้อ 3 แห่ง คือกะรุบี,ตะโละดือรามัน และปล่องหอย และมีพี่เลี้ยงเข้าร่วมจำนวน 7 คน ได้แก่ นายรอมซีสาและ,นายอัลดุลกอเดร์การีนา,นางประภัสสรขวัญกะโผะ,นางเต็มดวงวงศา,นางสาวซาลีนากอเสง,นายอดุลย์มามะ,นายสราวุฒิวิชิตนันท์
พูดคุย 2 section คือพี่เลี้ยงบรรยาย และกองทุนนำเสนอตัวเอง พี่เลี้ยงบรรยายในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ข้อ๔ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงาน และบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือจังหวัดปัตตานี ปี 60และอำเภอหนองจิกโจทย์สำคัญ 2.1ทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเอง 2.2ทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์ต่างๆ
เป้าหมาย: แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% (ไม่เกิน 10 ล้านบาท) 3. สิ่งที่เปลี่ยนหลักๆจากเดิม เริ่มตั้งแต่ ปีงบ 60 ได้แก่ 3.1โปรแกรมกองทุนสุขภาพตำบลเดิม http://obt.nhso.go.th ใช้ทั้งประเทศ ปัจจุบัน http://www.localfund.happynetwork.orgค้นจากเว็บ www.google.co.th พิมพ์คำว่า “กองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้” ใช้เฉพาะสปสช.เขต 12 สงขลา 7 จังหวัด(สงขลา,ตรัง,พัทลุง,สตูล,ปัตตานี,ยะลา,นราธิวาส)3.2ใช้กลไกพี่เลี้ยงกองทุน(Coaching)ระดับจังหวัด ปัตตานี 18 คน สปสช.เขต 12 สงขลาแต่งตั้ง (กองทุน 1 แห่ง/พี่เลี้ยง 1 คน) พี่เลี้ยง 1 คน/รับผิดชอบกองทุน 3-9 แห่ง 3.3พี่เลี้ยงกองทุน(Coaching)ระดับจังหวัด ทำหน้าที่ทำงานร่วมกับกรรมการกองทุนฯ 3.3.1จัดทำแผนงานกองทุน 3-5 ปี
3.3.2พัฒนา ปรับปรุง คุณภาพโครงการกองทุนฯให้การสนับสนุน 3.3.3ติดตาม ประเมินผลโดยใช้โปรแกรมผ่านเว็บไซต์ งบประมาณ 1.ใช้งบบริหารกองทุน ข้อ7(4) ในการทำแผนและพัฒนาโครงการกองทุนฯละ 5,000 บาท (ค่าวิทยากร 600 บาท/ชม.ค่าเดินทางภายในจังหวัด) 2.การติดตาม ประเมินผล ใช้งบโครงการแต่ละโครงการ เช่น งบวิทยากร
เราจะช่วยกันดูในวันนี้คือ 1.การบันทึกข้อมูล 2.แผนงาน/โครงการ 3.การบริหารจัดการ เช่น การพิจารณาอนุมัติแผนงาน/โครงการ (ประชุมกี่ครั้งแล้ว) 4.การเบิกจ่ายเงิน เช่น การรับเงิน สปสช. เงินสมทบอปท. เงินโครงการต่างๆ 5 ลำดับการพิจารณาอนุมัติและบันทึกโครงการในโปรแกรม - เริ่มจาก 7(4), 7(5), 7(3), 7(1), 7(2)
ผลลัพธ์(Outcome)กองทุนมีการบันทึกข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นต้น เป็นปัจจุบัน และกองทุนที่มีงบคงเหลือหลักล้านจะต้องทำแผนระยะ3-5ปีรองรับ

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 35 คน จากที่ตั้งไว้ 40 คน
ประกอบด้วย
พี่เลี้ยงลงเยี่ยมติดตามกองทุนสุขภาพตำบลรายกองทุนในเขตอำเภอมายอ 11 แห่งคืออบต.กระเสาะ, เกาะจัน, ตรัง, ลุโบะยิไร, ปะโด, กระหวะ, ทต.มายอ, ลางา, สะกำ, ถนน และสาคอบน โดยพี่เลี้ยงนายอับดุลตอเละ จะปะกียา, นายแวอิลยัสอีบุ๊ และนายการียา ยือแร6 มิถุนายน 2560
6
มิถุนายน 2560รายงานจากพื้นที่ โดย รอมซี สาและ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมแห่งละ 2 คน และตัวแทนจากรพ.สต.และสสอ.มายอ ได้แก่ กระเสาะ,กระหวะ,เกาะจัน,ถนน,เทศบาลตำบลมายอ,ลางา,ลุโบะยิไร,สะกำ,สาคอบน,ตรัง และปะโด และมีพี่เลี้ยงเข้าร่วมจำนวน 2 คน ได้แก่ นายอัลดุลกอเดร์ การีนา,นายรอมซี สาและ,นายการียา  ยือแร,นายแวอิลยัส  อีบุ๊,นายอับดุลตอเละ  จะปะกียา พูดคุย 2 section คือพี่เลี้ยงบรรยาย และกองทุนนำเสนอตัวเอง พี่เลี้ยงบรรยายในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ข้อ๔ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงาน และบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือจังหวัดปัตตานี ปี 60และอำเภอหนองจิกโจทย์สำคัญ 2.1ทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเอง 2.2ทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์ต่างๆ
เป้าหมาย: แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% (ไม่เกิน 10 ล้านบาท) 3. สิ่งที่เปลี่ยนหลักๆจากเดิม เริ่มตั้งแต่ ปีงบ 60 ได้แก่ 3.1โปรแกรมกองทุนสุขภาพตำบลเดิม http://obt.nhso.go.th ใช้ทั้งประเทศ ปัจจุบัน http://www.localfund.happynetwork.orgค้นจากเว็บ www.google.co.th พิมพ์คำว่า “กองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้” ใช้เฉพาะสปสช.เขต 12 สงขลา 7 จังหวัด(สงขลา,ตรัง,พัทลุง,สตูล,ปัตตานี,ยะลา,นราธิวาส)3.2ใช้กลไกพี่เลี้ยงกองทุน(Coaching)ระดับจังหวัด ปัตตานี 18 คน สปสช.เขต 12 สงขลาแต่งตั้ง (กองทุน 1 แห่ง/พี่เลี้ยง 1 คน) พี่เลี้ยง 1 คน/รับผิดชอบกองทุน 3-9 แห่ง 3.3พี่เลี้ยงกองทุน(Coaching)ระดับจังหวัด ทำหน้าที่ทำงานร่วมกับกรรมการกองทุนฯ 3.3.1จัดทำแผนงานกองทุน 3-5 ปี
3.3.2พัฒนา ปรับปรุง คุณภาพโครงการกองทุนฯให้การสนับสนุน 3.3.3ติดตาม ประเมินผลโดยใช้โปรแกรมผ่านเว็บไซต์ งบประมาณ 1.ใช้งบบริหารกองทุน ข้อ7(4) ในการทำแผนและพัฒนาโครงการกองทุนฯละ 5,000 บาท (ค่าวิทยากร 600 บาท/ชม.ค่าเดินทางภายในจังหวัด) 2.การติดตาม ประเมินผล ใช้งบโครงการแต่ละโครงการ เช่น งบวิทยากร
เราจะช่วยกันดูในวันนี้คือ 1.การบันทึกข้อมูล 2.แผนงาน/โครงการ 3.การบริหารจัดการ เช่น การพิจารณาอนุมัติแผนงาน/โครงการ (ประชุมกี่ครั้งแล้ว) 4.การเบิกจ่ายเงิน เช่น การรับเงิน สปสช. เงินสมทบอปท. เงินโครงการต่างๆ 5 ลำดับการพิจารณาอนุมัติและบันทึกโครงการในโปรแกรม - เริ่มจาก 7(4), 7(5), 7(3), 7(1), 7(2)
ผลลัพธ์(Outcome)กองทุนมีการบันทึกข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นต้น เป็นปัจจุบัน

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 25 คน จากที่ตั้งไว้ 25 คน
ประกอบด้วย
พี่เลี้ยงลงเยี่ยมติดตามกองทุนสุขภาพตำบลในเขตอำเภอโคกโพธิ์ 14 แห่งคืออบต.ควนโนรี, ทรายขาว, ทุ่งพลา, ทต.นาประดู่, นาประดู่, ปากล่อ, ทต.โคกโพธิ์, โคกโพธิ์, ช้างให้ตก, ท่าเรือ, นาเกตุ, บางโกระ, ป่าบอน และมะกรูด โดยพี่เลี้ยงนายประสพพรสังข์ทอง และนางประภัสสรขวั25 พฤษภาคม 2560
25
พฤษภาคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย รอมซี สาและ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมแห่งละ 2 คน ได้แก่ ควนโนรี,โคกโพธิ์,เทศบาลตำบลโคกโพธิ์,ช้างให้ตก,ทรายขาว,ท่าเรือ,ทุ่งพลา,นาเกตุ,นาประดู่,เทศบาลตำบลนาประดู่,บางโกระ,ปากล่อ,ป่าบอน,มะกรูด และมีพี่เลี้ยงเข้าร่วมจำนวน 2 คน ได้แก่ นางประภัสสรขวัญกะโผะ, และนายประสพพรสังข์ทอง พูดคุย 2 section คือพี่เลี้ยงบรรยาย และกองทุนนำเสนอตัวเอง พี่เลี้ยงบรรยายในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ข้อ๔ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงาน และบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือจังหวัดปัตตานี ปี 60และอำเภอหนองจิกโจทย์สำคัญ 2.1ทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเอง 2.2ทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์ต่างๆ
เป้าหมาย: แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% (ไม่เกิน 10 ล้านบาท) 3. สิ่งที่เปลี่ยนหลักๆจากเดิม เริ่มตั้งแต่ ปีงบ 60 ได้แก่ 3.1โปรแกรมกองทุนสุขภาพตำบลเดิม http://obt.nhso.go.th ใช้ทั้งประเทศ ปัจจุบัน http://www.localfund.happynetwork.orgค้นจากเว็บ www.google.co.th พิมพ์คำว่า “กองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้” ใช้เฉพาะสปสช.เขต 12 สงขลา 7 จังหวัด(สงขลา,ตรัง,พัทลุง,สตูล,ปัตตานี,ยะลา,นราธิวาส)3.2ใช้กลไกพี่เลี้ยงกองทุน(Coaching)ระดับจังหวัด ปัตตานี 18 คน สปสช.เขต 12 สงขลาแต่งตั้ง (กองทุน 1 แห่ง/พี่เลี้ยง 1 คน) พี่เลี้ยง 1 คน/รับผิดชอบกองทุน 3-9 แห่ง 3.3พี่เลี้ยงกองทุน(Coaching)ระดับจังหวัด ทำหน้าที่ทำงานร่วมกับกรรมการกองทุนฯ 3.3.1จัดทำแผนงานกองทุน 3-5 ปี
3.3.2พัฒนา ปรับปรุง คุณภาพโครงการกองทุนฯให้การสนับสนุน 3.3.3ติดตาม ประเมินผลโดยใช้โปรแกรมผ่านเว็บไซต์ งบประมาณ 1.ใช้งบบริหารกองทุน ข้อ7(4) ในการทำแผนและพัฒนาโครงการกองทุนฯละ 5,000 บาท (ค่าวิทยากร 600 บาท/ชม.ค่าเดินทางภายในจังหวัด) 2.การติดตาม ประเมินผล ใช้งบโครงการแต่ละโครงการ เช่น งบวิทยากร
เราจะช่วยกันดูในวันนี้คือ 1.การบันทึกข้อมูล 2.แผนงาน/โครงการ 3.การบริหารจัดการ เช่น การพิจารณาอนุมัติแผนงาน/โครงการ (ประชุมกี่ครั้งแล้ว) 4.การเบิกจ่ายเงิน เช่น การรับเงิน สปสช. เงินสมทบอปท. เงินโครงการต่างๆ 5 ลำดับการพิจารณาอนุมัติและบันทึกโครงการในโปรแกรม - เริ่มจาก 7(4), 7(5), 7(3), 7(1), 7(2)
ผลลัพธ์(Outcome)กองทุนมีการบันทึกข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นต้น เป็นปัจจุบัน

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 25 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย
พี่เลี้ยงลงเยี่ยมติดตามกองทุนสุขภาพตำบลในเขตอำเภอทุ่งยางแดง 4 แห่ง คืออบต.ตะโละแมะนา, น้ำดำ, ปากู และพิเทน โดยพี่เลี้ยงนายรอมซี และ25 พฤษภาคม 2560
25
พฤษภาคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย รอมซี สาและ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมแห่งละ 2 คน ได้แก่ ปากู,พิเทน,น้ำดำ,ตะโละแมะนา และมีพี่เลี้ยงเข้าร่วมจำนวน 2 คน ได้แก่ นายอัลดุลกอเดร์ การีนา และนายรอมซี สาและ พูดคุย 2 section คือพี่เลี้ยงบรรยาย และกองทุนนำเสนอตัวเอง พี่เลี้ยงบรรยายในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ข้อ๔ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงาน และบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือจังหวัดปัตตานี ปี 60และอำเภอหนองจิกโจทย์สำคัญ 2.1ทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเอง 2.2ทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์ต่างๆ
เป้าหมาย: แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% (ไม่เกิน 10 ล้านบาท) 3. สิ่งที่เปลี่ยนหลักๆจากเดิม เริ่มตั้งแต่ ปีงบ 60 ได้แก่ 3.1โปรแกรมกองทุนสุขภาพตำบลเดิม http://obt.nhso.go.th ใช้ทั้งประเทศ ปัจจุบัน http://www.localfund.happynetwork.orgค้นจากเว็บ www.google.co.th พิมพ์คำว่า “กองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้” ใช้เฉพาะสปสช.เขต 12 สงขลา 7 จังหวัด(สงขลา,ตรัง,พัทลุง,สตูล,ปัตตานี,ยะลา,นราธิวาส)3.2ใช้กลไกพี่เลี้ยงกองทุน(Coaching)ระดับจังหวัด ปัตตานี 18 คน สปสช.เขต 12 สงขลาแต่งตั้ง (กองทุน 1 แห่ง/พี่เลี้ยง 1 คน) พี่เลี้ยง 1 คน/รับผิดชอบกองทุน 3-9 แห่ง 3.3พี่เลี้ยงกองทุน(Coaching)ระดับจังหวัด ทำหน้าที่ทำงานร่วมกับกรรมการกองทุนฯ 3.3.1จัดทำแผนงานกองทุน 3-5 ปี
3.3.2พัฒนา ปรับปรุง คุณภาพโครงการกองทุนฯให้การสนับสนุน 3.3.3ติดตาม ประเมินผลโดยใช้โปรแกรมผ่านเว็บไซต์ งบประมาณ 1.ใช้งบบริหารกองทุน ข้อ7(4) ในการทำแผนและพัฒนาโครงการกองทุนฯละ 5,000 บาท (ค่าวิทยากร 600 บาท/ชม.ค่าเดินทางภายในจังหวัด) 2.การติดตาม ประเมินผล ใช้งบโครงการแต่ละโครงการ เช่น งบวิทยากร
เราจะช่วยกันดูในวันนี้คือ 1.การบันทึกข้อมูล 2.แผนงาน/โครงการ 3.การบริหารจัดการ เช่น การพิจารณาอนุมัติแผนงาน/โครงการ (ประชุมกี่ครั้งแล้ว) 4.การเบิกจ่ายเงิน เช่น การรับเงิน สปสช. เงินสมทบอปท. เงินโครงการต่างๆ 5 ลำดับการพิจารณาอนุมัติและบันทึกโครงการในโปรแกรม - เริ่มจาก 7(4), 7(5), 7(3), 7(1), 7(2)
ผลลัพธ์(Outcome)กองทุนมีการบันทึกข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นต้น เป็นปัจจุบัน

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 12 คน จากที่ตั้งไว้ 10 คน
ประกอบด้วย
พี่เลี้ยงลงพื้นที่เยี่ยมติดตามกองทุนสุขภาพตำบลในเขตอำเภอหนองจิกครั้งที่ 2 จำนวน 13 แห่ง คืออบต.เกาะเปาะ, คอลอตันหยง, ดอนรัก, ยาบี, ดาโต๊ะ, ตุยง, ท่ากำชำ, ทต.บ่อทอง, บางเขา, บางตาวา, ปุโละปุโย, ลิปะสะโง และทต.หนองจิก โดย พี่เลี้ยงนายมะรอกี เวาะเล็ง กับนายแ19 พฤษภาคม 2560
19
พฤษภาคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย รอมซี สาและ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมแห่งละ 2 คน ได้แก่ เกาะเปาะ,คอลอตันหยง,ดอนรัก,ท่ากำชำ,เทศบาลตำบลบ่อทอง,บางเขา,บางตาวา,ยาบี,ลิปะสะโง,เทศบาลตำบลหนองจิก, และมีพี่เลี้ยงเข้าร่วมจำนวน 3 คน ได้แก่ นายมะรอกี  เวาะเล็ง, นายอัลดุลกอเดร์  การีนา และนายรอมซี  สาและ พูดคุยใช้วิธีบรรยาย วิธีการบันทึกข้อมูลต่างๆผ่านโปรแกรมออนไลน์ พี่เลี้ยงบรรยายในประเด็น 1.เดิม http://obt.nhso.go.th ใช้ทั้งประเทศ ปัจจุบัน http://www.localfund.happynetwork.org  ค้นจากเว็บ www.google.co.th พิมพ์คำว่า “กองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้” ใช้เฉพาะสปสช.เขต 12 สงขลา 7 จังหวัด(สงขลา,ตรัง,พัทลุง,สตูล,ปัตตานี,ยะลา,นราธิวาส) เราจะช่วยกันดูในวันนี้คือ 1.การบันทึกข้อมูล ด้านการเงิน โครงการ/กิจกรรม การทำใบเบิก  การลำดับการพิจารณาอนุมัติและบันทึกโครงการในโปรแกรม - เริ่มจาก 7(4), 7(5), 7(3), 7(1), 7(2)
ผลลัพธ์(Outcome)กองทุนมีการบันทึกข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นต้น เป็นปัจจุบัน

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 20 คน จากที่ตั้งไว้ 14 คน
ประกอบด้วย
ประชุมทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัดปัตตานี ครั้งที่ 218 พฤษภาคม 2560
18
พฤษภาคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย รอมซี สาและ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เลขาฯได้บรรยายสถานการณ์เงินคงเหลือจังหวัดปัตตานี ปี 60 1.จังหวัดปัตตานี มีกองทุนสุขภาพตำบล จำนวน 113 แห่ง 2.เงินเหลือสะสม53 ล้านบาท(เขต 12 สงขลา 435 ล้านบาท ทั้งประเทศ 4,313 ล้านบาท) 3.ปี 60 ได้รับจัดสรรเพิ่มจากเงินโอนของ สปสช.(45บาท/หัว ปชก.) อีก 31 ล้านบาท ได้รับสมทบจาก อปท. 15 ล้านบาท 4.สุทธิเงินในกองทุนฯประมาณ 99 ล้านบาท (เขต 12 สงขลา ประมาณ 770 ล้านบาท) โจทย์สำคัญ 1. ทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเอง 2. ทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต. กลุ่มและองค์กรชุมชน กลุ่มประชาชน เป้าหมาย: แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% สิ่งที่เปลี่ยนหลักๆจากเดิม เริ่มตั้งแต่ ปีงบ 601. โปรแกรมกองทุนสุขภาพตำบลเดิม http://obt.nhso.go.th ใช้ทั้งประเทศ ปัจจุบัน http://www.localfund.happynetwork.orgเว็บ www.google.co.th พิมพ์คำว่า “กองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้” ใช้เฉพาะสปสช.เขต 12 สงขลา 7 จังหวัด(สงขลา,ตรัง,พัทลุง,สตูล,ปัตตานี,ยะลา,นราธิวาส) 2. ใช้กลไกพี่เลี้ยงกองทุน(Coaching)ระดับจังหวัด ปัตตานี 18 คน สปสช.เขต 12 สงขลาแต่งตั้ง (กองทุน 1 แห่ง/พี่เลี้ยง 1 คน)
พี่เลี้ยง 1 คน/รับผิดชอบกองทุน 3-9 แห่ง
บทบาทพี่เลี้ยง
ทำงานร่วมกับกรรมการกองทุนฯ 1.จัดทำแผนงานกองทุน 3-5 ปี
2.พัฒนา ปรับปรุง คุณภาพโครงการกองทุนฯให้การสนับสนุน 3.ติดตาม ประเมินผลโดยใช้โปรแกรมผ่านเว็บไซต์ งบประมาณ คาดจะได้รับจัดสรรงบสำรับทีมพี่เลี้ยงจากสปสช.90,000 บาท 1.ใช้งบบริหารกองทุน ข้อ7(4) ในการทำแผนและพัฒนาโครงการกองทุนฯละ 5,000 บาท (ค่าวิทยากร 600 บาท/ชม.ค่าเดินทางภายในจังหวัด 2.การติดตาม ประเมินผล ใช้งบโครงการแต่ละโครงการ เช่น งบวิทยากร ทักษะของพี่เลี้ยง 1. ความเข้าใจระเบียบบริหารกองทุน ฯ ปี 2557
2. การวินิจฉัยข้อหารือเกี่ยวกับกองทุนฯ 3. แนวคิดด้านสุขภาวะ การสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค 4. การจัดทำแผนงานกองทุน
5. การทำโครงการในประเด็นสำคัญ(ปัจจัยกำหนดสุขภาพ :SDH) 6. การประสานงาน-ให้คำปรึกษาของพี่เลี้ยง เรื่องที่จะพูดคุยกัน ติดตาม แลกเปลี่ยน เติมเต็ม โดยแบ่งหน้าที่ในการบรรยายดังนี้ 1.สถานการณ์กองทุน(รอมซี,วรรณพร) 2.แผนงานของกองทุน ปี 60(ประภัสสร,อาแว,เต็มดวง) 3.ระเบียบการเงิน ปี 2557(อับดุลกอเดร์,รอปีซะ,อาซีซะ) 4.ระเบียบกองทุน ปี 2557(อดุล,ซาลีนา,กัลยา) 5.การบริหารจัดการกองทุน(แวฮาซัน,สราวุฒิ,การียา) 6.ปัญหาอุปสรรค(แวอิยัส,ประสพพร,มะรอกี,อับดึลตอเละ) และมีการจับคู่พี่เลี้ยงกับกองทุนตำบลดังต่อไปนี้
ในเขตอำเภอเมืองปัตตานีกับอำเภอแม่ลาน นายอับดุลกอเดร์การีนา รับผิดชอบ 8 แห่ง คือ (1)อบต.กะมิยอL3009 (2)อบต.คลองมานิงL3010 (3)อบต.ตะลุโบะL3011 (4)อบต.ตันหยงลุโละL3012 (5)อบต.บานาL3013 (6)อบต.บาราโหมL3014 (7)อบต.บาราเฮาะL3015 (8)อบต.ปะกาฮะรังL3016
นางกัลยาเอี่ยวสกุล รับผิดชอบ 6 แห่ง คือ (1)เทศบาลเมืองปัตตานีL7884 (2)อบต.ปูยุดL3017 (3)เทศบาลตำบลรูสะมิแลL3018 (4)อบต.ป่าไร่L3019 (5)อบต.ม่วงเตี้ยL3020 (6)อบต.แม่ลาน L3021
ในเชตอำเภอยะหริ่งนางวรรณพรบัวสุวรรณรับผิดชอบ 9 แห่งคือ (1)อบต.จะรังL3037 (2)เทศบาลตำบลตอหลังL3038 (3)อบต.ตาแกะL3042
(4)อบต.ตาลีอายร์ L3043
(5)เทศบาลตำบลบางปูL7008
(6)อบต.ปิยามุมังL3045
(7)เทศบาลตำบลยะหริ่ง L8284
(8)อบต.ยามูL3047
(9)อบต.ราตาปันยังL3048
นายอาแวลือโมะ รับผิดชอบ 9 แห่งคือ (1)อบต.ตะโละL3039
(2)อบต.ตะโละกาโปร์50110
(3)เทศบาลตำบลตันหยงL8285
(4)อบต.ตันหยงดาลอL3041
(5)อบต.บาโลยL3044
(6)เทศบาลตำบลมะนังยงL3046
(7)อบต.สาบันL3049
(8)อบต.หนองแรตL3050
(9)อบต.แหลมโพธิ์L3051
ในเขตอำเภอปะนาเระ/ทุ่งยางแดง นายรอมซี สาและรับ ผิดชอบ 9 แห่งคือ (1)อบต.ควนL2990
(2)อบต.คอกกระบือL2991
(3)อบต.ดอน50109
(4)อบต.ท่าข้ามL2993
(5)อบต.ท่าน้ำL2994
(6)อบต.ตะโละแมะนาL2986
(7)อบต.น้ำดำL2987
(8)อบต.ปากูL2988
(9)อบต.พิเทนL2989
นางสาวอาซีซะ กาเรง รับผิดชอบ 5 แห่ง คือ (1)อบต.บ้านกลางL2995
(2)อบต.บ้านนอกL2996
(3)อบต.บ้านน้ำบ่อL2997
(4)เทศบาลตำบลปะนาเระL6999
(5)เทศบาลตำบลพ่อมิ่งL2998
ในเขตอำเภอยะรัง/มายอ นายอับดุลตอเละ จะปะกียา รับผิดชอบ 8 แห่ง คือ (1)อบต.กระโดL3025
(2)อบต.กอลำL3026
(3)อบต.เขาตูมL3027
(4)อบต.กระเสาะL2999
(5)อบต.เกาะจันL3001
(6)อบต.ตรังL3002
(7)อบต.ลุโบะยิไรL3006
(8)อบต.ปะโดL3004
นายแวอิลยัสอีบุ๊ รับผิดชอบ 8 แห่ง คือ (1)อบต.คลองใหม่L3028
(2)อบต.ปิตูมุดีL3030
(3)อบต.เมาะมาวีL3031
(4)อบต.วัดL3034
(5)อบต.กระหวะL3000
(6)เทศบาลตำบลมายอL7001
(7)อบต.ลางาL3005
(8)อบต.สะกำL3007
นายการียายือแร รับผิดชอบ 8 แห่ง คือ (1)อบต.ประจันL3029
(2)อบต.ยะรังL3032
(3)เทศบาลตำบลยะรังL8286
(4)อบต.ระแว้งL3033
(5)อบต.สะดาวาL3035
(6)อบต.สะนอL3036
(7)อบต.ถนนL3003
(8)อบต.สาคอบนL3008
ในเขตอำเภอโคกโพธิ์ นายประสพพรสังข์ทอง รับผิดชอบ 6 แห่ง คือ (1)อบต.ควนโนรีL2974
(2)อบต.ทรายขาวL2977
(3)อบต.ทุ่งพลาL2979
(4)เทศบาลตำบลนาประดู่L8015
(5)อบต.นาประดู่L2981
(6)อบต.ปากล่อL2983
นางประภัสสรขวัญกะโผะ รับผิดชอบ 8 แห่ง คือ (1)เทศบาลตำบลโคกโพธิ์L8282
(2)อบต.โคกโพธิ์L2975
(3)อบต.ช้างให้ตกL2976
(4)อบต.ท่าเรือL2978
(5)อบต.นาเกตุ50108 (6)อบต.บางโกระL2982
(7)อบต.ป่าบอนL2984
(8)อบต.มะกรูดL2985
ในเขตอำเภอหนองจิก นายแวฮาซันโตะฮิเล รับผิดชอบ 4 แห่ง คือ (1)อบต.เกาะเปาะL3061
(2)อบต.คอลอตันหยงL3062
(3)อบต.ดอนรักL3063
(4)อบต.ยาบีL3070
นายมะรอกีเวาะเล็ง รับผิดชอบ 9 แห่ง คือ (1)อบต.ดาโต๊ะ50111
(2)อบต.ตุยงL3065
(3)อบต.ท่ากำชำL3066
(4)เทศบาลตำบลบ่อทองL7012
(5)อบต.บางเขาL3067
(6)อบต.บางตาวาL3068
(7)อบต.ปุโละปุโยL3069
(8)อบต.ลิปะสะโงL3071
(9)เทศบาลตำบลหนองจิก L8283
ในเขตอำเภอสายบุรี/กะพ้อ/ไม้แก่น นางเต็มดวงวงศา รับผิดชอบ 4 แห่ง คือ (1)อบต.กะดุนงL3052
(2)เทศบาลตำบลเตราะบอนL3054
(3)อบต.มะนังดาลำL3059
(4)อบต.ละหารL3060
นายสราวุธ วิชิตนันท์ รับผิดชอบ 5 แห่ง คือ (1)อบต.บางเก่าL3055
(2)อบต.บือเระL3056
(3)อบต.ปะเสยะวอL3057
(4)อบต.แป้นL3058 (5)อบต.ตะบิ้งL3053
นายอดุลย์มามะ รับผิดชอบ 4 แห่ง คือ (1)เทศบาลเมืองตะลุบันL7010
(2)อบต.กะรุบีL2971
(3)อบต.ตะโละดือรามันL2972
(4)อบต.ปล่องหอยL2973
น.ส.ซาลีนากอเสง รับผิดชอบ 3 แห่ง คือ (1)อบต.ดอนทรายL3022
(2)อบต.ตะโละไกรทองL3023
(3)อบต.ไทรทองL3024
สิ่งที่ต้องการ ทุกกองทุนเตรียมแผนงานปี 60 ของแต่ละกองทุน กองทุนที่สมัครใจให้พี่เลี้ยงลงไปช่วยแนะนำ ตรวจเยี่ยม เติมเต็ม การบริหารงานของคณะกรรมการกองทุนในพื้นที่ แนวทางแก้ไข กองทุนสุขภาพตำบลค้างท่อจำนวนมาก เป้าหมายสปสช.เขต-สธ.- สจรส.มอ.- อปท.(กองทุนสุขภาพตำบลคงเหลือ 25 แห่ง)ผลผลิต:แผนสุขภาพตำบล ระยะเวลา 3 ปี ประเด็นร่วม- ผู้สูงอายุ- โรคเรื้อรัง(เบาหวาน ความดัน)- ตาต้อกระจก- อุบัติเหตุ- ขยะ อาหาร-โภชนาการ บุหรี่ ยาเสพติดโครงการแก้ปัญหาสุขภาพระดับพื้นที่กองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ระยะเวลา 3 ปี Workshop (28-11-59) สจรส.มอ.แผนสุขภาพกองทุนตำบลระดับเขตระยะเวลา 3 ปี และทีมพี่เลี้ยงติดตามกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 18 คน จากที่ตั้งไว้ 18 คน
ประกอบด้วย
พี่เลี้ยงลงพื้นที่เยี่ยมติดตามกองทุนสุขภาพตำบลในเขตอำเภอหนองจิก 13 แห่ง คืออบต.เกาะเปาะ, คอลอตันหยง, ดอนรัก, ยาบี, ดาโต๊ะ, ตุยง, ท่ากำชำ, ทต.บ่อทอง, บางเขา, บางตาวา, ปุโละปุโย, ลิปะสะโง, ทต,หนองจิก โดยพี่เลี้ยงนายมะรอกี เวาะเล็ง กับนายแวฮาซัน โตะฮิเล9 พฤษภาคม 2560
9
พฤษภาคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย รอมซี สาและ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมแห่งละ 2 คน ได้แก่ เกาะเปาะ,คอลอตันหยง,ดอนรัก,ดาโต๊ะ,ตุยง,ท่ากำชำ,เทศบาลตำบลบ่อทอง,บางเขา,บางตาวา,ปุโละปุโย,ยาบี,ลิปะสะโง,เทศบาลตำบลหนองจิก, และมีพี่เลี้ยงเข้าร่วมจำนวน 5 คน ได้แก่ นายมะรอกีเวาะเล็ง, นายอัลดุลกอเดร์การีนา, นางประภัสสรขวัญกะโผะ, นายแวฮาซัน โตะฮิเล และนายรอมซีสาและ พูดคุย 2 section คือพี่เลี้ยงบรรยาย และกองทุนนำเสนอตัวเอง พี่เลี้ยงบรรยายในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ข้อ๔ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงาน และบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือจังหวัดปัตตานี ปี 60และอำเภอหนองจิกโจทย์สำคัญ 2.1ทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเอง 2.2ทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์ต่างๆ
เป้าหมาย: แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% (ไม่เกิน 10 ล้านบาท) 3. สิ่งที่เปลี่ยนหลักๆจากเดิม เริ่มตั้งแต่ ปีงบ 60 ได้แก่ 3.1โปรแกรมกองทุนสุขภาพตำบลเดิม http://obt.nhso.go.th ใช้ทั้งประเทศ ปัจจุบัน http://www.localfund.happynetwork.orgค้นจากเว็บ www.google.co.th พิมพ์คำว่า “กองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้” ใช้เฉพาะสปสช.เขต 12 สงขลา 7 จังหวัด(สงขลา,ตรัง,พัทลุง,สตูล,ปัตตานี,ยะลา,นราธิวาส)3.2ใช้กลไกพี่เลี้ยงกองทุน(Coaching)ระดับจังหวัด ปัตตานี 18 คน สปสช.เขต 12 สงขลาแต่งตั้ง (กองทุน 1 แห่ง/พี่เลี้ยง 1 คน) พี่เลี้ยง 1 คน/รับผิดชอบกองทุน 3-9 แห่ง 3.3พี่เลี้ยงกองทุน(Coaching)ระดับจังหวัด ทำหน้าที่ทำงานร่วมกับกรรมการกองทุนฯ 3.3.1จัดทำแผนงานกองทุน 3-5 ปี
3.3.2พัฒนา ปรับปรุง คุณภาพโครงการกองทุนฯให้การสนับสนุน 3.3.3ติดตาม ประเมินผลโดยใช้โปรแกรมผ่านเว็บไซต์ งบประมาณ 1.ใช้งบบริหารกองทุน ข้อ7(4) ในการทำแผนและพัฒนาโครงการกองทุนฯละ 5,000 บาท (ค่าวิทยากร 600 บาท/ชม.ค่าเดินทางภายในจังหวัด) 2.การติดตาม ประเมินผล ใช้งบโครงการแต่ละโครงการ เช่น งบวิทยากร
เราจะช่วยกันดูในวันนี้คือ 1.การบันทึกข้อมูล 2.แผนงาน/โครงการ 3.การบริหารจัดการ เช่น การพิจารณาอนุมัติแผนงาน/โครงการ (ประชุมกี่ครั้งแล้ว) 4.การเบิกจ่ายเงิน เช่น การรับเงิน สปสช. เงินสมทบอปท. เงินโครงการต่างๆ 5 ลำดับการพิจารณาอนุมัติและบันทึกโครงการในโปรแกรม - เริ่มจาก 7(4), 7(5), 7(3), 7(1), 7(2)
ผลลัพธ์(Outcome)กองทุนมีการบันทึกข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นต้น เป็นปัจจุบัน

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 31 คน จากที่ตั้งไว้ 26 คน
ประกอบด้วย
ประชุมทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัดปัตตานี ครั้งที่ 12 พฤษภาคม 2560
2
พฤษภาคม 2560รายงานจากพื้นที่ โดย รอมซี สาและ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมประชุมมีดังนี้ 1.นายรอมซีสาและ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ 0816796499 2.นายการียายือแร ผอ.รพ.สต. 0898790760 3.นายแวอิลยัสอีบุ๊ ผอ.รพ.สต. 0862959591 4.นายอัลดุลกอเดร์การีนา ผอ.กองสาธารณสุข 0873948919 5.นางประภัสสร ขวัญกะโผะ ปลัดอบต. 0862899147 6.นายมะรอกีเวาะเล็ง ผอ.กองสาธารณสุข 0819909421 7.นางสาวรอปีซะมะมิง ผอ.กองคลัง
8.นางกัลยาเอี่ยวสกุล ประธานศูนย์ประสานงานหลักประกันฯจ.ปัตตานี 0899752822 9.นางสาวอาซีซะกาเรง ปลัดอบต.089-4665427 10.นางวรรณพรบัวสุวรรณ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ 0898764695 11.นายอับดุลตอเละจะปะกียา ผอ.กองสาธารณสุข 0812772536 12.นายอดุลย์มามะ ผอ.กองสาธารณสุข 0862946372 13.นายสราวุฒิวิชิตนันท์ สาธารณสุขอำเภอ 0937574545
14.นายแวฮาซันโตะฮิเลสสอ.หนองจิก 15.นายอาแวลือโมะสสอ.ยะหริ่ง 16.นายประสพพรสังข์ทองรพ.สต.นาเกตุ 17.นางเต็มดวงวงศาอบต.ดอนทราย 18.นางสาวรอปีซะมะมิง เมื่อวันที่ 1-2 และ13 ธันวาคม 2559 ณ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ มอ.หาดใหญ่ และ ณ ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี (เพิ่มเติมนอกเหนือจากเอกสารประกอบการประชุม) โจทย์สำคัญ 1. ทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเอง
2. ทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต. กลุ่มและองค์กรชุมชน กลุ่มประชาชน
เป้าหมาย: แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% แนวทางทำงานกองทุนสุขภาพตำบล ปี 60 1. ปรับปรุงและออกแบบเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้ วันที่ 3 ต.ค.-10 พ.ย.59 2. อปท.ป้อนข้อมูลผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้ www.localfund.happynetwork.org (ประชากรกลางปี 1 ก.ค.59 เงินสมทบ และเงินคงเหลือ)วันที่10-30 พ.ย.59 3. Workshop แผนสุขภาพระดับเขต กองทุนสุขภาพตำบลเงินเหลือมากกว่า 2 ลบ. วันที่ 28 พ.ย.59 4. พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงกองทุน(Coaching) 80 คน สจรส.มอ. วันที่ 29-30 พ.ย.59 5. ประชุมกองทุนสุขภาพตำบล-พี่เลี้ยงกองทุน (Coaching) รายจังหวัดลงข้อมูลแผนงานและโครงการ ปี 60
ผ่านเว็บไซต์ www.localfund.happynetwork.orgวันที่ 7-15 ธ.ค.59 6. สปสช.จัดสรรเงินงบประมาณเข้ากองทุนตำบลที่มีลงข้อมูลครบถ้วน วันที่ 16ธ.ค.59 -ม.ค.60 7. พี่เลี้ยง ลงเยี่ยมกองทุนตำบลและปรับแผนกองทุนตำบล จำนวน 1-2 ครั้ง วันที่ ม.ค.60-มิ.ย.60 เป้าหมาย กองทุนสุขภาพตำบล ปี 2560 เป้าหมาย ตัวชี้วัด การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ บริหารเงินคงเหลือเงินไม่เกิน 10% (ไม่เกิน 80 ลบ.จาก 770 ลบ.) เกิดทีมพี่เลี้ยง(Coaching) จังหวัดละ 70 คน เกิดระบบติดตามกองทุนสุขภาพตำบล Online (www.localfund.happynetwork.org) นวัตกรรมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพ เกิดวัตกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพของกองทุนสุขภาพตำบล นโยบายสาธารณะด้านสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบลจัดทำนโยบายสาธารณะด้านสุขภาพผ่านเครื่องมือธรรมนูญสุขภาพ 45 แห่ง บทบาทพี่เลี้ยง ทำงานร่วมกับกรรมการกองทุนฯ 1.จัดทำแผนงานกองทุน 3-5 ปี
2.พัฒนา ปรับปรุง คุณภาพโครงการกองทุนฯให้การสนับสนุน 3.ติดตาม ประเมินผลโดยใช้โปรแกรมผ่านเว็บไซต์ ทักษะของพี่เลี้ยง 1. ความเข้าใจระเบียบบริหารกองทุน ฯ ปี 2557
2. การวินิจฉัยข้อหารือเกี่ยวกับกองทุนฯ 3. แนวคิดด้านสุขภาวะ การสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค 4. การจัดทำแผนงานกองทุน
5. การทำโครงการในประเด็นสำคัญ(ปัจจัยกำหนดสุขภาพ :SDH) 6. การประสานงาน-ให้คำปรึกษาของพี่เลี้ยง งบประมาณ 1.ใช้งบบริหารกองทุน ข้อ7(4) ในการทำแผนและพัฒนาโครงการกองทุนฯละ 5,000 บาท (ค่าวิทยากร 600 บาท/ชม.ค่าเดินทางภายในจังหวัด 2.การติดตาม ประเมินผล ใช้งบโครงการแต่ละโครงการ เช่น งบวิทยากร 3.สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขต 12 สงขลา จะสนับสนุนงบประมาณจำนวน 90,000 บาท เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงานของพี่เลี้ยง รายละเอียดสปสช.จะแจ้งอีกครั้ง 4.จังหวัดปัตตานีได้มีการสรรหาคัดเลือกพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลมีรายชื่อดังต่อไปนี้ 1.นายรอมซีสาและ สสจ.ปัตตานี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ 0816796499 2.นายแวฮาซันโตะฮิเล สสอ.หนองจิก สาธารณสุขอำเภอ 0843121001 3.นายการียายือแร รพ.สต.ยะรัง ผอ.รพ.สต. 0898790760 4.นายแวอิลยัสอีบุ๊ รพ.สต.เมาะมาวี ผอ.รพ.สต. 0862959591 5.นายอาแวลือโมะ สสอ.ยะหริ่ง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ 0897332988 6.นายอัลดุลกอเดร์การีนา อบต.บานา ผอ.กองสาธารณสุข 0873948919 7.นางประภัสสร ขวัญกะโผะ อบต.นาเกตุ ปลัดอบต. 0862899147 8.นายมะรอกีเวาะเล็ง เทศบาลตำบลหนองจิก ผอ.กองสาธารณสุข 0819909421 9.นางสาวรอปีซะมะมิง อบต.ตะลุโบะ ผอ.กองคลัง 10.นางกัลยาเอี่ยวสกุล ศูนย์ประสานงานหลักประกันฯจ.ปัตตานี ประธานศูนย์ประสานงานหลักประกันฯจ.ปัตตานี 0899752822 11.นายประสพพรสังข์ทอง รพ.สต.นาเกตุ ผอ.รพ.สต. 0898700687 12.นางสาวอาซีซะกาเรง อบต.บ้านน้ำบ่อ ปลัดอบต. 089-4665427 13.นางเต็มดวงวงศา อบต.ดอนทราย ปลัดอบต. 0812776504 14.นางสาวซาลีนากอเสง อบต.ดอนทราย จพง.สาธารณสุขชำนาญการ 15.นางวรรณพรบัวสุวรรณ รพ.ยะหริ่ง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ 0898764695 16.นายอับดุลตอเละจะปะกียา อบต.เขาตูม ผอ.กองสาธารณสุข 0812772536 17.นายอดุลย์มามะ เทศบาลตำบลตะลุบัน ผอ.กองสาธารณสุข 0862946372 18.นายสราวุฒิวิชิตนันท์ สสอ.ไม้แก่น สาธารณสุขอำเภอ 0937574545 โดยมีนายแวฮาซันโต๊ะฮีเลเป็นประธาน,นายรอมซี สาและ เป็นเลขาฯและนายอับดุลกอเดร์การีนาเป็นผู้ช่วยเลขาฯนอกจากนั้นที่เหลือทั้งหมดจะเป็นคณะทำงาน ซึ่งจะได้รับการแต่งตั้ง และดำเนินการจัดทำข้อตกลงในการจ้างทีมพี่เลี้ยง(TOR)จากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขต 12 สงขลา เพื่อดำเนินการติดตาม เยี่ยมเยียน ประเมินกองทุนสุขภาพตำบลต่อไป ได้มีการมอบหมายให้นายรอมซี สาและ, นายอัลดุลกอเดร์การีนา และนายแวอิลยัสอีบุ๊ ให้ไปเปิดบัญชีกับธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร(ธกส.)สาขาจังหวัดปัตตานี ในนามบัญชี”กลุ่มทีมพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลจังหวัดปัตตานี”เพื่อใช้ในการรองรับการโอนเงินจากสปสช.เขต 12 สงขลา และความเป็นธรรมในการเบิกจ่ายเงินในลักษณะสองในสามของชื่อบัญชีธนาคารข้างต้น โดยมีนายรอมซี สาและเป็นตัวหลักในการเบิกจ่าย เรื่องที่คาดว่าจะพูดคุยกัน ติดตาม แลกเปลี่ยน เติมเต็ม 1.สถานการณ์กองทุน, 2.แผนงานของกองทุน ปี 60,3.ระเบียบการเงิน ปี 2557, 4.ระเบียบกองทุน ปี 2557, 5.การบริหารจัดการกองทุน, 6.ปัญหาอุปสรรค สิ่งที่ต้องการ ความคาดหวังทุกกองทุนเตรียมแผนงานปี 60 ของแต่ละกองทุน

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 18 คน จากที่ตั้งไว้ 18 คน
ประกอบด้วย
พี่เลี้ยงลงเยี่ยมติดตามกองทุนสุขภาพตำบลอ.เมือง 10 แห่ง คืออบต.กะมิยอ, คลองมานิง, ตะลุโบะ, ตันหยงลุโละ, บานา, บาราโหม, บาราเฮาะ, ปะกาฮะรัง,ท.เมืองปัตตานี, ปูยุด และทต,รูสะมิแล โดยพี่เลี้ยงนายอับดุลกอเดร์ การีนากับนางกัลยาเอี่ยวสกุล28 เมษายน 2560
28
เมษายน 2560รายงานจากพื้นที่ โดย รอมซี สาและ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีตัวแทนจนท.กองทุนฯเข้าร่วมประชุมทั้งหมด11คนขาดกองทุนบาราโหมแห่งเดียว เป็นการประชุมเชิงปฏิบัติการที่มีการเน้นในเรื่องการบันทึกข้อมูลเป็นหลักและให้กองทุนฯแต่ละแห่งนำเสนอแนวทางการทำงานของกองทุนฯตนเองเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน และทีมพี่เลี้ยงมีการแนะนำเพิ่มเติมในประเด็นต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. แผนงานของกองทุนฯ ทุกกองทุนฯต้องมีแผนงาน/โครงการของปีงบ60 อย่างน้อยมีการใช้งบประมาณ ที่ผ่านการจัดทำแผนงานร่วมกับตัวแทนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดในพื้นที่ 2. วิธีการบันทึกข้อมูลด้านต่างๆโดยเฉพาะการบันทึกโครงการต่างๆที่ได้รับการพิจารณาอนุมัติแล้วจากคณะกรรมการบริหารกองทุนฯของแต่ละแห่ง การลงประเภทการสนับสนุนงบประมาณตั้งแต่7(1)จนถึง7(4)ให้ถูกต้อง หากกองทุนไหนยังไม่ได้บันทึกโครงการฯให้ดำเนินการบันทึกโครงการ7(4)ก่อน แล้วค่อยตามด้วยโครงการอื่นๆทั้งหมด
3. 

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 13 คน จากที่ตั้งไว้ 10 คน
ประกอบด้วย