กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบลโดยพี่เลี้ยง จังหวัดพัทลุง ปี2560 ”

จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายคุณภาพ คงเจือ และทีมพี่เลี้ยงจังหวัดพัทลุง

ชื่อโครงการ โครงการสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบลโดยพี่เลี้ยง จังหวัดพัทลุง ปี2560

ที่อยู่ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 60-FW-93000 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 มกราคม 2560 ถึง 29 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบลโดยพี่เลี้ยง จังหวัดพัทลุง ปี2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบลโดยพี่เลี้ยง จังหวัดพัทลุง ปี2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบลโดยพี่เลี้ยง จังหวัดพัทลุง ปี2560 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-FW-93000 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 มกราคม 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 71,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นในความรับผิดชอบของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สงขลามีจำนวน 617 แห่งข้อมูลจากระบบบริหารจัดการกองทุนผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้ www.localfund.happynetwork.org พบว่า มีเงินคงเหลือสะสมจากหลายปีที่ผ่านมา จำนวน 385 ล้านบาทและจะมีเงินจัดสรรจาก สปสช.ตามข้อกำหนด 45 บาท/หัวประชากร จำนวน 218 ล้านบาท และเงินสมทบตามขนาดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร้อยละ 30-60อีก 116 ล้านบาท รวมแล้วจะมีเงินสำหรับดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพผ่านกองทุนสุขภาพตำบล ไม่ตำกว่า 724 ล้านบาท ส่วนหนึ่ง พบว่า เนื่องจากการตรวจสอบที่เข้มแข็งมากยิ่งขึ้นของหน่วยงานภายนอกที่ทำหน้าที่ตรวจสอบการใช้เงินกองทุน ฯ แต่สาเหตุสำคัญ คือ การขาดการวางแผนเชิงระบบเพื่อแก้ปัญหาสุขภาพของพื้นที่ ขาดแผนงานและโครงการ ตลอดจนการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ แบบเชิงรุก เป็นต้น

ผู้บริหารของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้กำหนดนโยบายสำคัญ คือ การบริหารเงินกองทุนที่สะสมในกองทุนให้คงเหลือไม่เกิน ร้อยละ 10 ของเงินคงเหลือทั้งหมด ทางสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สงขลา จึงถือเป็นนโยบายเร่งด่วนที่ต้องดำเนินการ ที่ผ่านมาทาง สปสช. เขต 12 สงขลา ดำเนินการดังนี้

1) การจัดทำแผนสุขภาพระดับเขตแก่กองทุนสุขภาพตำบลที่เงินคงเหลือเกิน 2 ล้านบาท เพื่อให้สามารถนำเงินกองทุนสุขภาพตำบลไปใช้ในการแก้ไขปัหาสุขภาพที่เป็นปัญหาร่วมกัน อันประกอบด้วย ประเด็นโรคเรื้อรัง และโรคติดต่อ ประเด็นแม่ตั้งครรภ์และเด็กแรกคลอด ประเด็นภาวะโภชนาการเด็ก ประเด็นอุบัติเหตุและความไม่ปลอดภัยในชุมชน ประเด็นสารเสพติด บุหรี่ ยา 4X100 ประเด็นการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม เป็นต้น
2) การจัดอบรมและพัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยง(Coaching Team) เพื่อสนับสนุนการจัดทำแผนงานและโครงการของกองทุนสุขภาพตำบล
3) การจัดทำระบบโปรแกรมบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล www.localfund.happynetwork.orgเพื่อใช้สนับสนุนการบริหารกองทุนและช่วยติดตามการดำเนินงานกองทุนสุขภาพ
4) การลงติดตามและสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบลของทีมพี่เลี้ยง (Coaching Team) ดังนั้น เพื่อการสนับสนุนการดำเนินงาน กองทุนฯ ที่มีประสิทธิภาพโดยทีมพี่เลี้ยง ทาง สปสช.เขต 12 สงขลาจึงจัดทำโครงการเสริมพลังกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ ระดับเขต 12 สงขลา ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ทีมพี่เลี้ยง (Coaching Team) ลงสนับสนุนการทำงานของกองทุนฯ ติดตามการทำงานและให้กองทุนฯรายงานผลโครงการผ่านโปรแกรมระบบบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบลแบบออนไลน์
  2. เพื่อให้กองทุนสุขภาพตำบลในจังหวัดพัทลุงมีการบริหารที่มีประสิทธิภาพและมีความโปร่งใส

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ได้รับการเสริมพลังจากทีมพี่เลี้ยง อย่างน้อยกองทุนละ 1 ครั้ง
    2. กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่สามารถจัดทำโครงการฯเพื่อแก้ปัญหาสุขภาพของพื้นที่ และสามารถลงข้อมูลในโปรแกรมระบบบริหารกองทุนสุขภาพตำบลออนไลน์ www.localfund.happynetwork.org
    3. เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่สามารถใช้ในการดำเนินโครงการจนไม่เกินร้อยละ 25

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ร่วมประชุมเพื่อวางแผนการลงเยี่ยมกองทุนในจังหวัดพัทลุง ครั้งที่ 1

    วันที่ 29 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้มีการประชุมพี่เลี้ยงระดับจังหวัดเพื่อร่วมปรึกษาและการวางแผนการทำงานกองทุนในจังหวัดพัทลุง  และร่วมปรึกษาปัญหาต่างไ  ที่เกิดขึ้นจากกองทุนในจังหวัดพัทลุง  ร่วมกับ  หัวหน้าสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง  เพื่อร่วมในการขับเคลื่อนกองทุนในพัทลุง  เพื่อให้เกิดเป็นแนวทางเดียวกัน  และมีการฝึกให้พีเลี้ยงคีย์ข้อมูลลงในระบบได้อย่างถูกต้อง ผลลัพธ์  ทำให้พี่เลี้ยงเข้าใจตัวโปรแกรมมากขึ้นและสามารถลงนิเทศน์งานกองทุนได้อดย่างตรงประเด็นตามที่เขต  12  ต้องการ

     

    16 15

    2. ลงเยี่ยม สนับสนุนกองทุน อบต.ป่าบอน และ ทต.ป่าบอน โดย นายวุฒิชัย นิ่มดำ

    วันที่ 7 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อออออิิ

     

    40 30

    3. ติดตามการทำแผน,การดำเนินงานของกองทุนสุขภาพตำบลคลองใหญ่โดย นายพิลือ เขียวแก้ว

    วันที่ 17 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ติดตามการดำเนินงานของกองทุนเทศบาลตำบลคลองใหญ่พบว้ามีการบันทึกข้อมูลเรียบร้อย มีโครงการครอบคลุม แนะนำเพิ่มเติมในเรื่องการส่งเสริมให้้ภาคประชาชน เข้ามามีส่วนร่วมในการสร้างสุขภาพ การจัดทำสภาวะสุขภาพในภาพรวมระดับกองทุน และการวางแผนแก้ไขปัญหาตามกลุ่มวัย

     

    3 3

    4. ติดตามการทำแผน,การดำเนินงานของกองทุนสุขภาพตำบลตะโหมด โดย นายพิลือ เขียวแก้ว

    วันที่ 17 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ติดตามเยี่ยม กองทุนเทศบาลตำบลตะโหมด กองทุนมีการบันทึกข้อมูลเรียบร้อย มีการแนะนำในเรื่องการสรุปผลโครงการ  การติดตามประเมินผลโครงการ และการให้ภาคส่วนต่างได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมสร้างสุขภาพของกองทุน  โดยการส่งเสริมให้การ กลุ่มวัยต่างๆในชุมชนทำโครงการเพื่อขอสนัยสนุนงบประมาณในการสร้างสุขภาพ

     

    3 4

    5. ติดตามการทำแผน,การดำเนินงานของกองทุนสุขภาพตำบลแม่ขรี โดย นายพิลือ เขียวแก้ว

    วันที่ 17 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตามการดำเนินงานกองทุนเทศบาลตำบลแม่ขรี  มีแผนการดำเนินงานครอบคลุมทุกประเภท ครอบคลุมทุกกลุ่มวัย ทั่งเครือข่ายสาธารณสุข เทศบาล โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก กศน. อสม.และอื่นๆ มีการบันทึกขอมูลเรียบร้อย  มีปัญหาคณะกรรมการบางท่านไม่เข้าใจระเบียบ แนะนำให้จัดทำกิจกรรมให้ความรู้เรื่องการดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบล แก่คณะกรรมการและเครือข่ายสร้างสุขภาพเพื่อร้วมกันกำหนดเป้าหมาย และร่วมกันจัดทำและประเมินโครงการของกองทุนฯ 

     

    3 4

    6. ติดตามการทำแผน,การดำเนินงานของกองทุนสุขภาพตำบลควนเสาธงโดย นายพิลือ เขียวแก้ว

    วันที่ 17 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ติดตามการดำเนินงานกองทุนเทศบาลควนเสาธง  มีการบันทึกข้อมูลเรียบร้อย  มีโครงการครอบคลุม ทุกประเภทและ ครอบคลุมทุกกล่มวัย และการป้องกันโรคระบาด แนะการจัดทำแผนการดำเนินงาน การจัดทำโครงการให้มีฝังควบคุมกำกับโครงการ 

     

    3 3

    7. ติดตามการทำแผน,การดำเนินงานของกองทุนสุขภาพตำบลควนมะพร้าวโดย นายคุณภาพ คงเจือ

    วันที่ 18 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตรวจเยี่้ยมการดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบลควนมะพร้าวพร้อมพี่เลี้ยงลัดดาวัลย์ ธรรมสกุล  พบว่ากองทุนมีแผนฯ  มีการบันทึกโครงการและข้อมูลพื้นฐานในระบบ ตรวจดูโครงการต่างๆของกองทุนที่เป็นเอกสารให้คำแนะนำเรื่องตั้งงบประมาณแต่ละโครงการ  แนะนำการบันทึกกิจกรรม กิจกรรมย่อย  เจ้าหน้าที่อยากให้ สปสช. เขต อบรมคณะทำงานของกองทุนตำบล เช่น คลัง พัสดุ และผู้รับผิดชอบโดยตรง มีการจัดตั้งศูนย์พัฒนาคุณภาพผู้สูงอายุ และกำลังทำระเบียบของ long term care 

     

    3 3

    8. ติดตามการทำแผน,การดำเนินงานของกองทุนสุขภาพตำบลพญาขันโดย นายคุณภาพ คงเจือ

    วันที่ 18 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตรวจเยี่ยมการดำเนินงานของกองทุนสุขภาพตำบลพญาขันพร้อมด้วยคุณลัดดาวัลย์  ธรรมสกุล โดยใช้สถานที่ของเทศบาลเมืองพัทลุง พบว่ากองทุนมีแผนการใช้จ่ายเงิน  เจ้าหน้าที่มีความเข้าใจการดำเนินงานกองทุน  มีการใช้งานระบบ บันทึกข้อมูลพื้นฐาน การบันทึกโครงการในระบบยังไม่ได้บันทึกโครงการบริหารจัดการกองทุน  แนะนำการบันทึกแนบไฟล์ใบเบิก และไฟล์โครงการ

     

    3 2

    9. ติดตามการทำแผน,การดำเนินงานของกองทุนสุขภาพตำบลลำปำโดย นายคุณภาพ คงเจือ

    วันที่ 18 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตรวจเยี่ยมกองทุนสุขภาพตำบลลำปำ พร้อมด้วยคุณลัดดาวัลย์ ธรรมสกุล ณ องค์การบริการส่วนตำบลลำปำ พบว่ากองทุนไม่มีแผนการใช้จ่ายเงินของกองทุน
    ไม่มีการบันทึกข้อมูลผ่านระบบออนไลน์ มีเพียงการบันทึกข้อมูลพื้นฐาน  ไม่มีการบันทึกโครงการในระบบ
    เจ้าหน้าที่ไม่มีความเข้าใจในการใช้งานระบบ  มีปัญหาในการบริหารจัดการบุคคลผู้รับผิดชอบงานกองทุน
    เจ้าหน้าที่ไม่มีเวลาในการคีย์ข้อมูลผ่านระบบออนไลน์ เนื่องจากมีผู้รับผิดชอบโดยตรงเพี่ยงคนเดียว กองทุนไม่มีการใช้จ่ายเงินของทุน เป็นกองทุนที่ต้องลงติดตามและเร่่งแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วน

    วันที่ 14 มิถุนายน 2560 เวลา 10.00 น. ลงติดตามกองทุนอีกครั้งโดย ภ.ก. สมชาย  ละอองพันธ์ และ  นางลัดดาวัลย์  ธรรมสกุล  โดยมีรายละเอียดดังนี้ - ให้ความรู้แก่คณะกรรมการกองทุนในการดำเนินการกองทุนและระเบียบของกองทุน - รับทราบปัญหาการดำเนินงานของกองทุนพร้อมให้คำแนะนำในการดำเนินงาน

     

    3 1

    10. ติดตามการทำแผน,การดำเนินงานของกองทุนสุขภาพเทศบาลเมืองพัทลุงโดย นายคุณภาพ คงเจือ

    วันที่ 18 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตรวจเยี่ยมกองทุนสุขภาพเทศบาลเมืองพัทลุงพร้อมด้วยคุณลัดดาวัลย์  ธรรมสกุล
    พบว่ากองทุนมีแผนฯ มีการบันทึกข้อมูลพื้นฐานของกองทุน  มีการบันทึกโครงการในระบบ  บันทึกกิจกรรมหลัก กิจกรรมย่อย แต่ไม่ได้แนบไฟล์โครงการและไฟล์ใบเบิก แนะนำวิธีการใช้จ่ายในโครงการประเภทที่ 2 และโครงการประเภทที่ 5 การแก้ไขข้อมูลในระบบเมื่่อไม่ตรงกับระบบมือ 

     

    3 4

    11. ออกติดตามการทำแผนการดำเนินงานกองทุนอบต.ควนขนุน โดย นางวาลัยพร ด้วงคง

    วันที่ 19 เมษายน 2560 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ร่วมการลงนิเทศน์กองทุน  อบต. ควนขนุน  ในการจัดทำแผนของกองทุน  และการทำโครงการต่างๆ  ของ  กองทุนหลักประกันสุขภาพ  อบต.ควนขนุน  พบว่า  อบต.  ควนขนุนมีการจัดทำแผนกองททุนเรียบร้อยและมีการขอโครงการเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนไว้หลายๆ  โครงการ ได้ร่วมติดตามโครงการต่างๆ  และมีการปกรับเปลี่ยนโครงการต่อที่ประชุมคณะกรรมการกองทุน ในโครงการที่มีภาวะเสี่ยง  และได้ดำเนินการให้ฝ่ายเลขาดำเนินการคีย์ข้อมูลโครงการที่ได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการกองทุนคีย์ข้อมูลลงในระบบ  และให้ฝ่ายเลขาดำเนินการรับ - จ่าย ต่างๆ  ฝ่านระบบออนไลน์
    ผลลัพธ์  ทำให้ฝ่ายเลขากองทุนได้ดำเนินการคีย์ข้อมูลโครงการต่างๆ  ในระบบ  และมีการเบิกจ่ายเงิน  และรับเงินผ่านในระบบได้อย่างถูกต้อง  ตามวัตุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพ

     

    3 0

    12. ติดตามการทำแผน,การดำเนินงานของกองทุนสุขภาพตำบลท่าแคโดย นางลัดดาวัลย์ ธรรมสกุล

    วันที่ 19 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ติดตามตรวจเยี่ยมการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบลท่าแค  พบว่ากองทุนมีแผนกองทุน  ในด้านการตรวจสอบการใช้งานในระบบ พบว่าได้มีการบันทึกไปแค่บางส่วน ได้แนะนำให้บันทึกให้ครบถ้วนตามที่เกิดขึ้นจริง กองทุนมีปัญหาในการใช้งานระบบที่ต้องบันทึกหลายขั้นตอน ได้แนะนำการใช้งานว่าควรบันทึกเมนูใดบ้าง และแต่ส่วนมีประโยชน์อย่างไร ทำให้เจ้าหน้าที่มีความเข้าใจการบันทึกข้อมูลในระบบออนไลน์มากขึ้น

     

    3 2

    13. ติดตามการทำแผน,การดำเนินงานของกองทุนสุขภาพตำบลท่ามิหรำโดย นางลัดดาวัลย์ ธรรมสกุล

    วันที่ 19 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตรวจเยี่ยมกองทุนสุขภาพตำบลท่ามิหรำ โดยใช้สถานที่เทศบาลตำบลท่าแค  พบว่ากองทุนมีแผนการใช้จ่ายเงินของกองทุน  แต่เจ้าหน้าที่ยังไม่เข้าใจการบันทึกกิจกรรมหลัก กิจกรรมย่อยในระบบออนไลน์ ได้แนะนำ และดูโครงการของกองทุนว่าการตั้งงบประมาณเป็นอย่างไร  การบันทึกโครงการในระบบยังไม่ได้บันทึกให้ครบถ้วนตามที่เกิดขึ้นจรัง ได้แนะนำให้บันทึกให้เป็นปัจจุบัน

     

    3 2

    14. ติดตามการทำแผน,การดำเนินงานของกองทุนสุขภาพตำบลตำนาน โดย นายคุณภาพ คงเจือ

    วันที่ 19 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตรวจเยี่ยมกองทุนสุขภาพตำบลตำนาน พบว่ากองทุนมีแผนของกองทุน    ด้านการใช้งานผ่านเว็บออนไลน์ยังบันทึกไม่่ครบถ้วน  เจ้าหน้าที่มีปัญหาการใช้งานในระบบที่ซับซ้อนจึงบันทึกไม่เป็นปัจจุบัน  จึงได้ให้บันทึกพร้อมกับแนะนำการบันทึกกิจกรรมหลักและกิจกรรมย่อยในระบบจนเป็นปัจจุบัน  มีปัญหาของกองทุนเนื่องการโครงการประเภทที่ 3 ไม่ค่อยมีการเสนอโครงการเพื่อของบประมาณ  แนะนำการบริหารจัดการกองทุน เจ้าหน้าที่มีความเชื่อมั่น มีความรู้ในการบริหารงานกองทุนและการบันทึกข้อมูลในเว็บออนไลน์มากขึ้น

     

    3 2

    15. ติดตามการทำแผน,การดำเนินงานของกองทุนสุขภาพตำบลชัยบุรี โดย นายคุณภาพ คงเจือ

    วันที่ 19 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตรวจเยี่ยมการดำเนินกงานกองทุนสุขภาพตำบลชัยบุรี พร้อมด้วยคุณลัดดาวัลย์  ธรรมสกุล โดยใช้สถานที่เทศบาลตำบลปรางหมู่ กองทุนมีแผนการใช้จ่ายเงิน มีระเบียบกองทุนที่จัดขึ้นตามมติของคณะกรรมการบริหารกองทุน กองทุนมีการใช้งานระบบออนไลน์  โดยการบันทึกข้อมูลพื่นฐาน บันทึกโครงการ  และบันทึกกิจกรรมหลัก กิจกรรมย่อย ได้แนะนำให้เพิ่มการแนบไฟล์โครงการ และไฟล์ใบเบิก ไม่ค่อยมีปัญหาในการบริหารจัดการกองทุน 

     

    3 3

    16. ติดตามการทำแผน,การดำเนินงานของกองทุนสุขภาพตำบลปรางหมู่ โดย นายคุณภาพ คงเจือ

    วันที่ 19 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตรวจติดตามการดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบลปรางหมู่พร้อมด้วยคุณลัดดาวัลย์  ธรรมสกุล  ณ เทศบาลตำบลปรางหมู่ กองทุนบันทึกข้อมูลในระบบไม่่เป็นปัจจุบัน  มีการบันทึกโครงการไม่ครบถ้วน  ไม่มีการบันทึกกิจกรรมหลัก และกิจกรรมย่อย  ไม่มีการแนบไฟล์ใบเบิกและไฟล์โครงการ ได้แนะนำให้บันทึกข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน  แนะวิธีการบันทึกกิจกรรมหลัก กิจกรรมย่อย การแนบไฟล์ โดยมีเจ้าหน้าที่ของกองทุนสุขภาพตำบลชัยบุรีเป็นผู้ช่วยแนะนำด้วย แนะนำเรืองจัดทำระเบียบกองทุน การจัดทำแผนของกองทุน

     

    3 2

    17. ติดตามการดำเนินงานกองทุนเทศบาลบางแก้ว โดย นางวาลัยพร ด้วงคง

    วันที่ 20 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ร่วประชุมคณะกรรมการกองทุนเทศบาลตำบลบางแก้ว  ร่วมในการพิจารณาโครงการที่เสนอ  เพื่อขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุน  คณะกรรมการกองทุนเทศบาลตำบลบางแก้วยังไม่เข้าใจเกี่ยวกับการทำโครงการของบกองทุน  ได้เข้าไปร่้วมพิจารณาโครงการต่างๆ  และได้ทำความเข้าใจกับคณะกรรมการกองทุน  ทำให้คณะกรรมการกองทุุนเข้าใจในตัวการของบประมาณได้อย่างถูกต้องมากขึ้น ผลลัพธ์  ทำให้โครงการต่างไ  ลดภาวะเสี่ยงในการทำโครงการได้ระดับหนึ่ง ทำให้ภาคองกรประชาชนสามารถเข้าถึงการขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนเทศบาลตำบลบางแก้วได้มากขึ้น

     

    5 15

    18. ออกติดตามเยี่ยมกองทุน เทศบาลตำบลจองถนน โดย นางวาลัยพร ด้วงคง

    วันที่ 20 เมษายน 2560 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ลงพื้นที่เทศบาลตำบลจองถนน    พบว่าเทศบาลตำบลจองถนน  ยังไม่มีการบันทึกข้อมูลในระบบ  และยังไม่มีแผนกองทุน  จึงได้ดำเนินการให้ฝ่ายเลขากองทุน  รีบดำเนินการประชุมเพื่อจัดทำแผนกองทุนโดยเร็ว  และรีบดำเนินการคีย์ข้อมูลโครงการที่ผ่านการพิจารณาอนุมัติแผน จากคณะกรรมการกองทุน  ให้เร็วที่สุด ผลลัพธ์  ทำให้เทศบาลตำบลจองถนนมีแผนของกองทุนและดำเนินการคีย์ข้อมูลโครงการในระบบได้

     

    15 3

    19. ออกติดตามเยี่ยมกองทุน เทศบาลตำบลโคกม่วง โดย นางวาลัยพร ด้วงคง

    วันที่ 20 เมษายน 2560 เวลา 11:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ลงนิเทศน์กองทุนเทศบาลตำบลโคกม่วง  ในวันประชุมคณะกรรมการกองทุน  พบกว่ากองทุนเทศบาลตำบลโคกม่วงมีคณะกรรมการที่เข้มแข็ง  มีความพร้อม  และได้ให้ความรู้กับคณะกรรมการกองทุนและทีมฝ่ายเลขาในการจัดทำโครงการต่างๆ  เพื่อลดภาวะเสี่ยงในการถูกทักท้วงจาก  สตง.  และให้รีบดำเนินการเสนอโครงการเพื่อของบสนับสนุนจากกองทุน  โดยด่วน  ที่สำคัญให้ทางฝ่ายเลขาติดตามหน่วยที่ของยประมาณจากกองทุนรีบรายงานผลให้กับทางฝ่ายเลขากองทุน  โดยเร็ว
    ผลลัพธ์  ทำให้คณะกรรมการเกิดความเข้าใจในการทำโครงการขอวนับสนุนงบประมาณได้อย่างถูกต้องมากยิ่งขึ้นและ  กลุ่มภาคองค์กรประชาชนมีการเข้าร่วมของบสนับสนุนจากกองทุนได้เพิ่มขึน  มีการจัดทำโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

    17 18

    20. ติดตามการทำแผน,การดำเนินงานของกองทุนสุขภาพตำบลนาโหนด โดย นางลัดดาวัลย์ ธรรมสกุล

    วันที่ 20 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ติดตามตรวจเยี่ยมกองทุนสุขตำบลนาโหนดพร้อมด้วยพี่เลี่้ยงคุณภาพ คงเจือ โดยใช้สถานที่ของเทศบาลตำบลร่มเมืองพบว่ากองทุนฯ ได้มีการบันทึกข้อมูลในระบบไปเพียงบางส่วน ได้แนะนำให้บันทึกให้ครบถ้วนจนเป็นปัจจุบัน พิจารณาโครงการที่บันทึกส่วนใหญ่จะเป็นโครงการประเภทที่ 1 ได้แนะนำเพิ่มเติมว่าโครงการประเภทใด ใครควรเป็นคนทำ แนะนำการใช้งานระบบฯ การบันทึกกิจกรรมหลัก กิจกรรมย่อย

     

    3 2

    21. ติดตามการทำแผน,การดำเนินงานของกองทุนสุขภาพตำบลร่มเมืองโดย นางลัดดาวัลย์ ธรรมสกุล

    วันที่ 20 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตรวจเยี่ยมกองทุนสุขภาพตำบลร่มเมืองพร้อมพี่เลี้ยงคุณภาพ คงเจือ  พบว่ากองทุนมีแผนการใช้เงิน มีการบันทึกข้อมูลพื้นฐานในระบบ มีการบันทึกโครงการ แต่ยังไม่เป็นปัจจุบัน มีปัญาการบันทึกกิจกรรมหลัก กิจกรรมย่อย เจ้าหน้าที่ยังคงคิดว่าระบบซับซ้อน จึงได้ให้คำแนะนำการใช้งานระบบ แนะนำการเพิ่มไฟล์ใบเสร็จ การแนบไฟล์ใบเบิกในระบบ แนะนำการลบโครงการที่บันทึกที่ผิดพลาด การเข้าใช้เมนูการเงิน เพื่อให้สามารถใช้งานระบบได้มีประสิทธิภาพและมีประโยชน์มากที่สุด 

     

    3 2

    22. ติดตามการทำแผน,การดำเนินงานของกองทุนสุขภาพตำบลเขาเจียก โดย นางลัดดาวัลย์ ธรรมสกุล

    วันที่ 20 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตรวจเยี่ยมการดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบลเขาเจียกพร้อมด้วยคุณคุณภาพ คงเจือ ณ เทศบาลตำบลเขาเจียก กองทุนมีแผนการใช้จ่ายเงิน  มีการบันทึกข้อมูลพื่้้นฐาน  และบันทึกโครงการในระบบออนไลน์  มีการบันทึกกิจกรรมหลัก กิจกรรมย่อย  ให้คำแนะนำในการบันทึกแนบไฟล์ใบเบิกและไฟล์โครงการ  แนะนำการใช้งานระบบออนไลน์ในเมนูอื่่นๆ  เพื่อให้การใช้งานระบบออนไลน์มีประสิทธิภาพและประโยชน์เพิ่มขึ้น แนะนำให้มีการบันทึกข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน แนะนะให้มีการบันทึกแนบไฟล์รูปภาพลงในโครงการ  แนะนำวิธีการเรียกดูงบการเงินรายเดือนและรายไตรมาส

     

    3 2

    23. ติดตามการทำแผน,การดำเนินงานของกองทุนสุขภาพตำบลโคกชะงาย โดย นางลัดดาวัลย์ ธรรมสกุล

    วันที่ 20 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตรวจติดตามการดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบลโคกชะงายพร้อมด้วยคุณคุณภาพ  คงเจือ
    มีแผนการใช้จ่ายเงินกองทนุ มีการบันทึกข้อมูลพื้นฐานในระบบ การบันทึกโครงการ  เรียบร้อย มีการบันทึกข้อมูลกิจกรรมหลัก กิจกรรมย่อย แนะนำการตั้งค่าใช้่จ่ายโครงการที่ควรจะเบิก การตั้งงบประมาณรายจ่ายในโครงการ
    แนะนำโครงการจัดตรวจคัดกรองเบาหวาน ความดันสูง การซื้อแถบวัด  การเสนอขอโครงการใครควรเป็นผู้ดำเนินการ มีการแนบไฟล์โครงการ ไฟล์บันทึกข้อตกลง
    ภาพรวมกองทุนสามารถดำเนินงานได้ดี
    เจ้าหน้าที่มีความเข้าใจในวิธีการดำเนินงานและบริหารกองทุน

     

    3 2

    24. ติดตามการทำแผน,การดำเนินงานของกองทุนสุขภาพตำบลนาท่อม โดย นางลัดดาวัลย์ ธรรมสกุล

    วันที่ 20 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตรวจเยี่ยมการดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบลนาท่อมพร้อมด้วยคุณคุณภาพ คงเจือ โดยใช้สถานที่เทศบาลตำบลร่มเมือง กองทุนมีแผนการใช้งาน มีการบันทึกโครงการและข้อมูลพื้นฐานในระบบ แนะนำวิธีการเพิ่มข้อมูลกิจกรรมหลัก กิจกรรมย่อย
    ดูโครงการแต่ละโครงการแนะนำว่าเข้าหลักเกณฑ์ด้านสุขภาพหรือไม่ ควรเบิกจ่ายหรือไม่
    แนะนำการใช้งานระบบในเมนูด้านการเงิน แนะนำให้มีการแนบไฟล์โครงการและไฟล์ใบเบิก 

     

    3 2

    25. ค่าหลักประกันสัญญา

    วันที่ 20 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทำโครงการสัญญาจ้างเหมาบริการติดตามแผนการดำเนินงานโครงการ    ในจังหวัดพัทลุง  ผลลัพธ์  ที่ได้  มีโครงการสามารถที่จะลงติดตามแผนการดำเนินงานกองทุนในจังหวัดพัทลุงได้ 

     

    17 17

    26. จ่ายค่าภาษี อากร

    วันที่ 20 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จ่ายค่าภาษี  หัก  ณ  ที่จ่าย  จากการดำเนินงานโครงการจ้างเหมาบริการติดตามแผนการดำเนินงานโครงการ  ผลลัพธ์  ได้ปฃฎิบัติได้ถูกตามระเบียบกองทุน

     

    1 1

    27. ติดตามการทำแผน,การดำเนินงานของกองทุนสุขภาพตำบลเกาะนางคำ โดย นายพิลือ เขียวแก้ว

    วันที่ 20 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โดยกำหนด จัดกิจกรรมเยี่ยมกองทุน ณ เทศบาลป่าบอน มีการติดตามการดำเนินงานของกองทุนสุขภาพตำบลเกาะนางคำ  แนะการบันทึกข้อมูล  การบันทึกรายละเอียดกิจกรรม  และการจัดทำโครงการ

     

    3 0

    28. ลงติดตามการจัดทำแผนและติดตามการดำเนินงานอบต.นาปะขอ โดยนางวาลัยพร ด้วงคง

    วันที่ 21 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ลงไปร่วมในการจัดทำแผนกองทุนของ  อบต.  นาปะขอ  ซึ่งทางกองทุนไม่เคยมีการจัดทำแผนการดำเนินงานของกองทุนเลย  ทำให้ไม่มีโครงการที่จะดำเนินการเบิกเงินจากกองทุน  ทำให้มีเงินเหลือค่างท่ออยู่เยอะ  เนื่องจากการไม่เข้าใจในการบริหารงานของกองทุน  และไม่เขาใจว่าเงินกองทุนเบิกจ่ายอะไรได้บ้าง   ผลลัพธ์  จากการลงไปร่วมจัดทำแผนกองทุน  ทำให้อบต.  นาปะขอจากที่ไม่เคยมีแผนกลับมีแผนของกองทุนเพื่อรองรับการเบิกจ่ายเงินกองทุนได้และได้ทำความเข้าใจกับคณะกรรมการกองทุนละตัวผู้บริหารได้เข้าใจในการเบิกจ่ายเงินของกองทุนได้มากขึ้น

     

    6 30

    29. ติดตามการทำแผน,การดำเนินงานของกองทุนสุขภาพตำบลฝาละมี โดยนายวุฒิชัยนิ่มดำ

    วันที่ 21 เมษายน 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สามารถนำมาปฏิบัติสู่การปฏิบัติได้

     

    40 40

    30. ติดตามการทำแผน,การดำเนินงานของกองทุนสุขภาพตำบลอ่าวพะยูน โดยนายวุฒิชัย นิ่มดำ

    วันที่ 21 เมษายน 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สามารถนำมาปฏิบัติในการปฏิบัติงานได้

     

    40 40

    31. ติดตาม สนับสนุนกองทุน อบต.วังใหม่ อบต.หนองธง อบต.ทุ่งนารี และ อบต.โคกทราย โดย นายวุฒิชัย นิ่มดำ

    วันที่ 21 เมษายน 2560 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สามารถนำมาปฏิบัติในการแฏิบัติงานได้

     

    40 40

    32. ออกติดตามเยี่ยมกองทุนเทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ โดย นางจุฑามาศ รัตนอุบล

    วันที่ 25 เมษายน 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • แผนงานโครงการยังไม่สมบูรณ์ ไม่ได้แยกประเภทโครงการ/กิจกรรม ตามวัตถุประสงค์ของกองทุน ได้ให้คำแนะนำให้มีกระบวนการจัดทำแผนที่ครอบคลุมปัญหาความต้องการจากทุกกลุ่ม และควรจัดทำแผนในเดือนกันยายนเป็นอย่างช้า
    • โครงการ/กิจกรรมมีความเสี่ยงห่างไกลวัตถุประสงค์ของกองทุน จำนวน 6 โครงการ คัดกรองเบาหวาน,แก้ปัญหายาเสพติดเยาวชน,ส่งเสริมออกกำลังกาย,แอโรบิค,ปั่นจักรยาน,ประชาสัมพันธ์ ให้ปรับเปลี่ยนและเพิ่มกิจกรรมที่ตรงตามวัตถุประสงค์กองทุน
    • แนะนำให้บันทึกข้อมูลลงในระบบให้ครบถ้วนทั้งวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด กิจกรรมหลัก กิจกรรมย่อย
    • แนะนำการทำ TOR จากระบบ
    • แนะนำการเข้าไปใช้ตัวอย่างโครงการ, แบบฟอร์ม, คำสั่งต่างๆ จากเวปไซต์กองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้

     

    5 3

    33. ออกเยี่ยมกองทุน อบต. โคกสัก โดย นางวาลัยพร ด้วงคง

    วันที่ 26 เมษายน 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ลงไปนิเทศน์กองทุนหลักประกันสุขภาพ  อบต.โคกสัก  พบว่าคณะกรรมการและฝ่ายเลขากองทุนมีแผนของกองทุนแต่ยังไม่ได้ดำเนินคีย์ข้อมูลลงในระบบทำให้ไม่มีการเบิจ่ายเงินออกจากระบบ  ได้แนะนำกับฝ่ายเลขาและน้องผู้รับผิดชอบกองทุนได้นำ้โครงการคีย์ข้อมูลในระบบโดยถูกต้อง  มีการคีย์การรับเงินและการเบิกจ่ายเงินในระบบ  และได้ร่วมในการให้ความรนู้ในการจัดทำโครงการต่างๆ  พอเป็นที่เข้าใจของผู้บริหารและฝ่ายเลขากองทุน ผลลัพธ์  ทำให้  กองุทน อบต. โคกสักสามารถคีย์ข้อมูลการเบิกจ่ายเงิน  การรับเงิน  การลงโครงการในระบบได้อย่างถูกต้อง  และตรงตามวัตถุประสงค์ของเขต  12

     

    5 5

    34. ออกตรวจเยี่ยมกองทุนอบต.เขาชัยสนโดยนางจุฑามาศ รัตนอุบล

    วันที่ 26 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลการติดตาม 1.แผนกองทุนครบถ้วน ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย 2.การบันทึกข้อมูลในระบบยังมีน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับการดำเนินการจริง 3.การเงินบัญชีถูกต้อง สมบูรณ์ ทั้งในระบบและเอกสารหลักฐาน 4.การกำหนดวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด บางโครงการยังไม่ชัดเจนและสอดคล้องกัน 5.การนำข้อมูลจากเวปไซต์กองทุนตำบลภาคใต้มาใช้งานน้อย คำแนะนำ 1.ปรับปรุงตัวชี้วัดให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 2.แนะนำการบันทึกตัวชี้วัด กิจกรรมหลัก กิจกรรมย่อย งบประมาณลงในระบบทุกโครงการ 3.แนะนำการพิมพ์บันทึกข้อตกลงจากระบบ 4.ปรับปรุงกิจกรรมที่มีความเสี่ยงต่อการผิดวัตถุประสงค์ ปัญหาและข้อเสนอแนะจากผู้รับผิดชอบกองทุน 1.ใบเบิกเงิน จะมีชื่อผู้รับผิดชอบโครงการปรากฎในหน้าใบเบิก ซึ่งจะมีปัญหากรณีผู้รับผิดชอบโครงการเป็นหน่วยงาน ต้องสั่งจ่ายเช็คในชื่อหน่วยงานจึงทำให้ต้องแก้ไขหน้าใบเบิกเงินทุกครั้ง 2.ช่องการจ่ายเช็ค เสนอว่าควรให้ระบบจดจำหรือบันทึกเลขบัญชีธนาคารไว้เป็นการถาวร

     

    5 3

    35. ออกติดตามเยี่ยมกองทุน เทศบาลตำบลเขาชัยสน โดย นางจุฑามาศ รัตนอุบล

    วันที่ 26 เมษายน 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลการติดตาม 1.มีแผนกองทุนครบถ้วน 2.มีการบันทึกข้อมูลลงในระบบแต่ยังไม่ครบถ้วน 3.ในช่วงต้นปีงบประมาณยังทำใบเบิกเงินด้วยมือ 4.ยังไม่มีการมอบหมายผู้รับผิดชอบงานกองทุนที่ชัดเจน คำแนะนำ 1.แนะนำการนำแบบฟอร์มโครงการและแบบฟอร์มต่างๆจากเวปไซต์กองทุนตำบลภาคใต้มาใช้ 2.แนะนำการบันทึกกิจกรรมกหลัก กิจกรรมย่อย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดลงระบบ 3.ประนำการปรับเปลี่ยนกิจกรรมที่เสี่ยงต่อการผิดวัตถุประสงค์ของกองทุน

     

    5 3

    36. ออกติดตามเยี่ยมกองทุน อบต.หานโพธิ์ โดย นางจุฑามาศ รัตนอุบล

    วันที่ 28 เมษายน 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลการติดตาม: 1.แผนกองทุนยังไม่สมบูรณ์ 2.การบันทึกข้อมูลในระบบน้อยมาก 3.ผู้รับผิดชอบงานกองทุนภารกิจมาก 4.มีการเสนอโครงการน้อย ข้อแนะนำ 1.แนะนำกระบวนการจัดทำแผนกองทุนโดยเชิญผู้เกี่ยวข้องและเครือข่ายที่หลากหลายเข้าร่วม 2.แนะนำการเขียนชุดโครงการบริหารจัดการกองทุนและการเบิกจ่าย 3.การเข้าใช้งานระบบ การบันทึกข้อมูลกิจกรรม การเงิน ลงในระบบ ตัวอย่างโครงการ 4.แนะนำการจัดตั้งศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 5.การสนับสนุนงบกองทุนให้ศูนย์ผู้สูงอายุและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

     

    3 2

    37. เยี่ยมกองทุนสุขภาพตำบลกงหรา โดย นายประเทือง อมรวิริยะชัย

    วันที่ 8 พฤษภาคม 2560 เวลา 13.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทีมพี่เลี้ยงประกอบด้วย นายประเทืองอมรวิริยะชัย นายสมนึกนุ่นด้วง และนายถาวรคงศรี ได้ลงติดตามมพื้นที่กองทุนสุขภาพตำบลกงหรา พบว่า

    1. การลงข้อมูลพื้นฐานกองทุนฯในเวปไซต์ บันทึกได้ครบทุกรายการ
    2. การลงการเงิน มีการบันทึกการรับเงินจากสปสช. บันทึกรับดอกเบี้ย แต่เงินอุดหนุนยังไม่บันทึก เนื่องจากเทศบาลตำบลกงหรายังไม่ได้อุดหนุน
    3. การพิจารณาโครงการของกองทุนฯ พบว่าสอดคล้องกับแผน
    4. การลงบันทึกโครงการบริหารจัดการกองทุน และโครงการอื่นๆ ได้บันทึกแล้ว รวมจำนวน 7 โครงการ ใช้งบประมาณ 162,280 บาท แต่ยังไม่แนบไฟล์โครงการ
    5. การบันทึกการออกใบเบิก ทำไดู้กต้องแต่ยังไม่แนบไฟล์ภาพฎีกา
    6. การบันทึกกิจกรรมยังไม่ได้บันทึกกิจกรรม

    คำแนะนำจากทีมพี่เลี้ยง

    1. ให้กองทุนรีบดำเนินการอุดหนุนเงินเข้ากองทุน
    2. การออกใบเบิกให้แนบไฟล์ภาพฎีกาด้วย
    3. การบันทึกข้อมูลโครงการให้แนบไฟล์โครงการด้วย
    4. ให้บันทึกกิจกรรมของโครงการให้เป็นปัจจุบัน

     

    3 13

    38. ออกติดตามเยี่ยมกองทุนอบต.คลองเฉลิมโดยนายประเทือง อมรวิริยะชัย

    วันที่ 8 พฤษภาคม 2560 เวลา 13.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทีมพี่เลี้ยงประกอบด้วย นายประเทืองอมรวิริยะชัย นายสมนึกนุ่นด้วง และนายถาวรคงศรี ได้ลงติดตามมพื้นที่กองทุนสุขภาพตำบลกงหรา พบว่า

    1. การลงข้อมูลพื้นฐานกองทุนฯในเวปไซต์ บันทึกได้ครบทุกรายการ
    2. การลงการเงิน มีการบันทึกการรับเงินจากสปสช. บันทึกรับดอกเบี้ย บันทึกเงินอุดหนุนครบถ้วน
    3. การพิจารณาโครงการของกองทุนฯ พบว่าสอดคล้องกับแผน
    4. การลงบันทึกโครงการบริหารจัดการกองทุน และโครงการอื่นๆ ได้บันทึกแล้ว รวมจำนวน 9 โครงการ ใช้งบประมาณ 350,000 บาท แต่ยังไม่แนบไฟล์โครงการ
    5. การบันทึกการออกใบเบิก ทำไดู้กต้องแต่ยังไม่แนบไฟล์ภาพฎีกา
    6. การบันทึกกิจกรรมยังไม่ได้บันทึกกิจกรรม

    คำแนะนำจากทีมพี่เลี้ยง

    1. การออกใบเบิกให้แนบไฟล์ภาพฎีกาด้วย
    2. การบันทึกข้อมูลโครงการให้แนบไฟล์โครงการด้วย
    3. ให้บันทึกกิจกรรมของโครงการให้เป็นปัจจุบัน

     

    15 13

    39. ออกติดตามการจัดทำแผนกองทุนอบค.คลองทรายขาว โดย นาย ประเทือง อมรวิระยะชัย

    วันที่ 8 พฤษภาคม 2560 เวลา 13.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทีมพี่เลี้ยงประกอบด้วย นายประเทืองอมรวิริยะชัย นายสมนึก นุ่นด้วง และนายถาวรคงศรี ได้ลงติดตามมพื้นที่กองทุนสุขภาพตำบลกงหรา พบว่า

    1. การลงข้อมูลพื้นฐานกองทุนฯในเวปไซต์ บันทึกได้ครบทุกรายการ
    2. การลงการเงิน มีการบันทึกการรับเงินจากสปสช. บันทึกรับดอกเบี้ย บันทึกเงินอุดหนุนครบถ้วน
    3. การพิจารณาโครงการของกองทุนฯ พบว่าสอดคล้องกับแผน
    4. การลงบันทึกโครงการบริหารจัดการกองทุน และโครงการอื่นๆ ได้บันทึกครบทุกโครงการ และได้แนบไฟล์โครงการแล้วด้วย
    5. การบันทึกการออกใบเบิก ทำไดู้กต้องและแนบไฟล์ภาพฎีกาแล้วด้วย
    6. การบันทึกกิจกรรมยังไม่ได้ส่งภาพกิจกรรม

    คำแนะนำจากทีมพี่เลี้ยง

    1. การออกใบเบิกให้แนบไฟล์ภาพฎีกาด้วย
    2. ให้บันทึกกิจกรรมของโครงการให้เป็นปัจจุบัน และแนบไฟล์ภาพกิจกรรมด้วย

     

    15 13

    40. ออกติดตามเยี่ยมกองทุนตำบลชะรัด โดย นายถาวร คงศรี

    วันที่ 8 พฤษภาคม 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทีมพี่เลี้ยงประกอบด้วย นายประเทืองอมรวิริยะชัย นายสมนึกนุ่นด้วง และนายถาวรคงศรี ได้ลงติดตามมพื้นที่กองทุนสุขภาพตำบลชะรัด พบว่า
    1. การลงข้อมูลพื้นฐานกองทุนฯในเวปไซต์ บันทึกได้ครบทุกราย มีจำนวน 2 โครงการ ใช้งบประมาณ 170,576 บาท แต่ยังไม่แนบไฟล์โครงการจากรายได้ทั้งหมด467,360 บาท 2. การลงการเงิน มีการบันทึกการรับเงินจากสปสช. บันทึกรับแต่ยังไม่บันทึกดอกเบี้ยธนาคาร 3. การพิจารณาโครงการของกองทุนฯ พบว่าสอดคล้องกับแผน 4. การลงบันทึกโครงการบริหารจัดการกองทุน และโครงการอื่นๆ ได้บันทึกแล้ว
    5. การบันทึกการออกใบเบิก ทำไดู้กถูกต้อง 6. การบันทึกกิจกรรมยังไม่ได้แนบไฟล์โครงการ,ยังไม่ได้บันทึกการคืนเงินโครงการ,ไม่บันทึกกิจกรรมโครงการ คำแนะนำจากทีมพี่เลี้ยง 1. ให้บันทึกดอกเบี้ยธนาคารให้เรียบร้อย 2. ให้แนบไฟล์โครงการและบันทึกกิจกรรมตามโครงการหากมีเงินเหลือให้บันทึกการคืนเงินด้วย 4. ให้บันทึกกิจกรรมของโครงการให้เป็นปัจจุบัน

     

    10 3

    41. ออกติดตามเยี่ยมกองทุน เทศบาลตำบลสมหวัง โดย นายถาวร คงศรี

    วันที่ 8 พฤษภาคม 2560 เวลา 11:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. การลงข้อมูลพื้นฐาน เรียบร้อยครบถ้วน มี 37  โครงการใช้เงิน 293,385 บาท จากรายรับทั้งหมด 302,128.05 บาท
    2. การลงบัญชีการเงินการบันทึกบัญชีได้การลงบัญชีรายรับเงินจาก สปสช. เงินดุดหนุน และดอกเบี้ยเงินฝาก
    3. การบันทึกโครงการบริหารจัดการกองทุนมีการบันทึก 3 โครงการ
    4. การออกใบเบิก ทำได้ ทำแล้วยังไม่แนบไฟล์ฎีกา
    5. การลงบันทึกคืนเงิน ยังไม่แนบไฟล์ โครงการ,ไม่บันทุึกการคืนเงิน ไม่บันทึกกิจกรรม สรุปคำแนะนำจากทีมพี่เลี้ยง
    6. ให้เพิ่มไฟล์ภาพด้วย
    7. การออกใบเบิกให้แนบไฟล์ภาพฎีกาด้วย
    8. การบันทึกข้อมูลโครงการให้แนบไฟล์โครงการด้วย
    9. ให้บันทึกกิจกรรมของโครงการให้เป็นปัจจุบัน

     

    17 3

    42. ออกติดตามเยี่ยมกองทุน เทศบาลตำบลลำสินธุ์ โดย นายสมนึก นุ่นด้วง

    วันที่ 18 พฤษภาคม 2560 เวลา 13.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. การลงข้อมูลพื้นฐาน เรียบร้อยครบถ้วน

    2. การลงบัญชีการเงินการบันทึกบัญชีได้การลงบัญชีรายรับเงินจาก สปสช.แล้วแต่ยังไม่รับเงินจากท้องถิ่น และยังไม่บันทึกดอกเบี้ยเงินฝาก แนะนำดำเนินการ

    3. ติดตามเยี่ยมการลงข้อมูลโครงการในเวบไซต์ ยังไม่มีการอนุมัติโครงการ แต่ได้บันทึกทุกโครงการตามแผนเข้าโปรแกรม แนะนำให้ยกเลิก และบันทึกเฉพาะโครงการที่อนุมัติแล้ว

    4. การบันทึกโครงการบริหารจัดการกองทุนมีการบันทึกโครงการเป็นรายกิจกรรม แนะนำให้บันทึกเป็น 1 โครงการ และให้เบิกจ่ายเป็นรายกิจกรรม

    5. การออกใบเบิก ทำได้ ทำแล้ว

    6. การลงบันทึกคืนเงิน ยังไม่มีการดำเนินการ แนะนำเรียนรู้ร่วมกัน

      สรุปคำแนะนำจากทีมพี่เลี้ยง

      1. ให้กองทุนรีบดำเนินการอุดหนุนเงินเข้ากองทุน
      2. การออกใบเบิกให้แนบไฟล์ภาพฎีกาด้วย
      3. การบันทึกข้อมูลโครงการให้แนบไฟล์โครงการด้วย
      4. ให้บันทึกกิจกรรมของโครงการให้เป็นปัจจุบัน

     

    11 2

    43. ออกติดตามเยี่ยมกองทุน เทศบาลบ้านนา โดย นายสมนึก นุ่นด้วง

    วันที่ 18 พฤษภาคม 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. การลงข้อมูลพื้นฐาน เรียบร้อยครบถ้วน 2.ติดตามเยี่ยมการลงข้อมูลโครงการในเวบไซต์ โครงการอนุมัติไปแล้ว 12 โครงการ แต่ลงในเวบฯเพียง 2 โครงการแนะนำลงให้ครบถ้วน
    2. การลงบัญชีการเงินการบันทึกบัญชีไม่สามารถเข้าถึงการเงินได้การลงบัญชีรายรับ ยังไม่รับเงินจากท้องถิ่น
    3. การบันทึกโครงการบริหารจัดการกองทุน ยังไม่ดำเนินการ แนะนำดำเนินการเป็นการเรียนรู้เบื้องต้น
    4. การออกใบเบิก ทำได้ ทำแล้ว
    5. การลงบันทึกคืนเงินยังไม่มีการดำเนินการ แนะนำเรียนรู้ร่วมกัน

      สรุปคำแนะนำจากทีมพี่เลี้ยง

      1. ให้กองทุนรีบดำเนินการอุดหนุนเงินเข้ากองทุน
      2. การออกใบเบิกให้แนบไฟล์ภาพฎีกาด้วย
      3. การบันทึกข้อมูลโครงการให้แนบไฟล์โครงการด้วย
      4. ให้บันทึกกิจกรรมของโครงการให้เป็นปัจจุบัน

     

    2 2

    44. ออกติดตามเยี่ยมกองทุน เทศบาลตำบลชุมพล โดย นายคุณภาพ คงเจือ

    วันที่ 18 พฤษภาคม 2560 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. การลงข้อมูลพื้นฐานกองทุนฯในเวปไซต์ บันทึกได้ครบทุกรายการ
    2. การลงการเงิน มีการบันทึกการรับเงินจากสปสช. บันทึกรับดอกเบี้ย
    3. การพิจารณาโครงการของกองทุนฯ พบว่าบันทึกทุกโครงการสอดคล้องกับแผน
    4. การลงบันทึกโครงการบริหารจัดการกองทุน และโครงการอื่นๆ ได้บันทึกแล้ว
    5. การบันทึกการออกใบเบิก บันทึกแล้ว
    6. การบันทึกกิจกรรมยังได้บันทึกกิจกรรมแล้ว คำแนะนำจากทีมพี่เลี้ยง
    7. ไม่มี

     

    10 3

    45. ติดตามการทำแผน,การดำเนินงานของกองทุนสุขภาพตำบลเขาหัวช้างโดยนายพิลือ เขียวแก้ว

    วันที่ 25 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การติดตามการดำเนินงานกองทุนตำบล โครงการมีการบันทึกข้อมูลเรียบร้อย มีแผนการดำเนินงาน  มีงบประมาณเหลือจ่าย แนะนำให้มีการจัดทำแผนการทำเดินงานที่ชัดเจน มีผังควบคุมการเบิจ่ายงบประมาณ การส่งเสริมให้ชุมชนร่วมจัดทำโครงการสร้างสุขภาพของชุมชน

     

    3 3

    46. ประชุมเพื่อเตรียมวางแผนลงนิเทศก์กองทุนโซนอำเภอ ควนขนุนป่าพะยอมศรีบรรบต

    วันที่ 26 มิถุนายน 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตามที่ได้มีคำสั่งแต่งตั้งทีมพี่เลี้ยงในจังหวัดพัทลุง ขึ้น ตามคำสั่งเขต  สปสช.เขต  12    จำนวน  16  ท่าน    เพื่อลงไปสนับสนุนกองทุนในพื้นที่ จังหวัดพัทลุง  จำนวน  73  กองทุน  นั้น  เพื่อให้การทำงานของทีมพี่เลี้ยงเกิดประสิทธิภาพในการลงนิเทศน์กองทุนต่างๆ  ในโซนพื้นที่  อำเภอควนขนุน  อำเภอ  ป่าพะยอม  อำเภอศรีบรรบต  เพื่อให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และเพื่อให้ทีมพี่เลี้ยงเกิดความเข้าใจในการลงระบบต่างๆ  ของกองทุนได้อย่างถูกต้อง  จึงมีการซักซ้อมการลงข้อมูลต่างๆ  ของกองทุน และได้ให้ทีมพี่เลี้ยงได้สรุปปัญหาจากการลงพื้นที่ของแต่พี่เลี้ยงแต่ละรายเพื่อจะได้หาแนวทางการแก้ไขปัญหาของกองทุนที่มีปัญหาต่างๆ

    ผลลัพธ์ 1. ทำให้ทีมพี่เลี้ยงเกิดความเข้าในขั้นตอนในการลงนิเทศน์กองทุนต่างๆ  ในพื้นที่ไปในทิศทางเดียวกัน           2. ทีมพี่เลี้ยงสามารถเข้าใจถึงวิธีการลงนิเทศน์ข้อมูลต่างๆ  ได้ถูกต้อง  ตรงประเด็นรายของแต่ละกองทุน           3. ทีมพี่เลี้ยงเกิดความเข้าในในระบบออนไลน์ของกองทุน  และสามารถนำข้อมมูลจากการลงนิเทศก์มาคีย์ข้อมูลต่างๆ  ได้อย่างถูกต้อง           4. ทีมพี่เลี้ยงเกิดความเข้าใจแลกเปลี่ยนประสบการณ์และการแก้ปัญหาของแต่ละกองทุนได้อย่างถูกวิธี

     

    15 15

    47. ออกติดตามการทำแผน การดำเนินงานกองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านสวน แบบโซนนิ่งอำเภอควนขนุน อำเภอป่าพยอม อำเภอศรีบรรพต โดย นายอัษฎาวุธ ศิริธรพร้อมทีมพี่เลี้ยงจังหวัดพัทลุง

    วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงติดตามกองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านสวน พร้อมด้วยทีมพี่เลี้ยงอีก 5 ท่าน พบว่า

    1. การลงข้อมูลพื้นฐานกองทุนฯในเวปไซต์ บันทึกได้ครบทุกรายการ
    2. การลงการเงิน มีการบันทึกการรับเงินจากสปสช. บันทึกรับดอกเบี้ย บันทึกเงินอุดหนุน แต่บางก็กองทุนยังไม่บันทึกการรับเงินอุดหนุนซึ่งในระบบมือได้รับแล้ว
    3. การบันทึกโครงการของกองทุนฯในระบบ  พบว่าบางกองทุนบันทึกไปเพียงบางโครงการไม่ครบถ้วนตามตาม
    4. บางกองทุนได้มีการบันทึกการออกใบเบิก ทำไดู้กต้องแต่ยังไม่แนบไฟล์ภาพฎีกา
    5. การบันทึกกิจกรรมยังไม่ได้บันทึกกิจกรรม 6  แนะนำการใช้โปรแกรมเมนูต่างๆ  เช่น เมนูวิเคราะห์ พร้อมดูสถานะการใช้จ่ายเงินของจังหวัดพัทลุง

    คำแนะนำจากทีมพี่เลี้ยง

    1. การออกใบเบิกให้แนบไฟล์ภาพฎีกาด้วย
    2. การบันทึกข้อมูลโครงการให้แนบไฟล์โครงการด้วยพร้อมแนะนำวิธีการบันทึกโครงการในระบบ
    3. ให้บันทึกกิจกรรมของโครงการให้เป็นปัจจุบัน
    4. ให้บันทึกโครงการและทำใบเบิกในระบบให้ครบถ้วน

     

    50 42

    48. ออกติดตามเยี่ยมกองทุนและลงนิเทศก์กองทุน อบต.ป่าพะยอม โดย นางจุฑามาศ รัตนอุบล ร่วมกับทีมพี่เลี้ยงจังหวัดพัทลุง

    วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลการลงนิเทศพร้อมด้วยทีมพี่เลี้ยงอีก 5 คน 1.มีแผนกองทุนและบันทึกในระบบเรียบร้อย 2.การลงบันทึกการเงิน ดำเนินการเรียบร้อย 3.การบันทึกกิจกรรมยังไม่ครบถ้วน สมบูรณ์ ข้อแนะนำ 1.ให้เร่งรัด ติดตามให้ผู้เสนอโครงการขอรับงบประมาณและไปดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จภายในปีงบประมาณ 2.แนะนำการบันทึกข้อมูล กิจกรรม การใช้งานโปรแกรม 3.แนะนำการใช้เวปไซต์ ข้อมูล และระบบ ให้เป็นประโยชน์ เพื่อลดเวลาและขั้นตอนในการทำงาน 4.แนะนำการแนบไฟล์ใบเบิกเงิน โครงการและภาพถ่าย

     

    50 42

    49. ออกติดตามการทำแผน การดำเนินงานกองทุนสุขภาพ อบต.ปันแต แบบโซนนิ่งอำเภอควนขนุน อำเภอป่าพะยอม อำเภอศรีบรรพต โดย นายอัษฎาวุูธ ศิริธร พร้อมทีมพี่เลี้ยงจังหวัดพัทลุง

    วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงติดตามกองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลป้นแต พร้อมด้วยทีมพี่เลี้ยงอีก 5 ท่าน พบว่า

    1. การลงข้อมูลพื้นฐานกองทุนฯในเวปไซต์ บันทึกได้ครบทุกรายการ
    2. การลงการเงิน มีการบันทึกการรับเงินจากสปสช. บันทึกรับดอกเบี้ย บันทึกเงินอุดหนุน แต่บางก็กองทุนยังไม่บันทึกการรับเงินอุดหนุนซึ่งในระบบมือได้รับแล้ว
    3. การบันทึกโครงการของกองทุนฯในระบบพบว่าบางกองทุนบันทึกไปเพียงบางโครงการไม่ครบถ้วนตามตาม
    4. บางกองทุนได้มีการบันทึกการออกใบเบิก ทำไดู้กต้องแต่ยังไม่แนบไฟล์ภาพฎีกา
    5. การบันทึกกิจกรรมยังไม่ได้บันทึกกิจกรรม
    6. แนะนำการใช้โปรแกรมเมนูต่างๆเช่น เมนูวิเคราะห์ พร้อมดูสถานะการใช้จ่ายเงินของจังหวัดพัทลุง

    คำแนะนำจากทีมพี่เลี้ยง

    1. การออกใบเบิกให้แนบไฟล์ภาพฎีกาด้วย
    2. การบันทึกข้อมูลโครงการให้แนบไฟล์โครงการด้วยพร้อมแนะนำวิธีการบันทึกโครงการในระบบ
    3. ให้บันทึกกิจกรรมของโครงการให้เป็นปัจจุบัน
    4. ให้บันทึกโครงการและทำใบเบิกในระบบให้ครบถ้วน

     

    50 42

    50. ออกติดตามเยี่ยมกองทุนและลงนิเทศก์กองทุนอบต.เขาปู่ โดยนางจุฑามาศ รัตนอุบลและร่วมกับทีมพี่เลี้ยงจัหงวัดพัทลุง

    วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการลงนิเทศพร้อมด้วยทีมพี่เลี้ยงจังหวัดพัทลุง 5 คน ผลดังนี้ 1.มีแผนกองทุนและบันทึกในระบบเรียบร้อย 2.ทุกโครงการยังไม่มีการเบิกจ่าย เนื่องจากผู้ขอรับงบประมาณไม่ได้แจ้งขอรับงบฯ 3.ไม่มีการบันทึกข้อมูลในระบบให้เป็นปัจจุบัน ข้อแนะนำ 1.ให้เร่งรัด ติดตามให้ผู้เสนอโครงการขอรับงบประมาณและไปดำเนินโครงการให้แล้วเสร็จทันปีงบประมาณ 2.แนะนำการบันทึกข้อมูล กิจกรรม การใช้งานโปรแกรม 3.แนะนำการใช้เวปไซต์ ข้อมูลและระบบให้เป็นประโยชน์เพื่อลดขั้นตอนและเวลาการทำงาน 4.ประสานเลขานุการกองทุน ให้ควบคุมดูแลงานกองทุนให้ทันตามกำหนดเวลา

     

    50 42

    51. ออกติดตามการทำแผน การดำเนินงานกองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลนาขยาด แบบโซนนิ่งอำเภอควนขนุน อำเภอป่าพะยอม อำเภอศรีบรรพต โดย นายอัษฎาวูธ ศิริธร พร้อมทีมพี่เลี้ยงจังหวัดพัทลุง

    วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงติดตามกองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลนาขยาด พร้อมด้วยทีมพี่เลี้ยงอีก 5 ท่าน พบว่า

    1. การลงข้อมูลพื้นฐานกองทุนฯในเวปไซต์ บันทึกได้ครบทุกรายการ
    2. การลงการเงิน มีการบันทึกการรับเงินจากสปสช. บันทึกรับดอกเบี้ย บันทึกเงินอุดหนุน แต่บางก็กองทุนยังไม่บันทึกการรับเงินอุดหนุนซึ่งในระบบมือได้รับแล้ว
    3. การบันทึกโครงการของกองทุนฯในระบบพบว่าบางกองทุนบันทึกไปเพียงบางโครงการไม่ครบถ้วนตามตาม
    4. บางกองทุนได้มีการบันทึกการออกใบเบิก ทำไดู้กต้องแต่ยังไม่แนบไฟล์ภาพฎีกา
    5. การบันทึกกิจกรรมยังไม่ได้บันทึกกิจกรรม
    6. แนะนำการใช้โปรแกรมเมนูต่างๆเช่น เมนูวิเคราะห์ พร้อมดูสถานะการใช้จ่ายเงินของจังหวัดพัทลุง

    คำแนะนำจากทีมพี่เลี้ยง

    1. การออกใบเบิกให้แนบไฟล์ภาพฎีกาด้วย
    2. การบันทึกข้อมูลโครงการให้แนบไฟล์โครงการด้วยพร้อมแนะนำวิธีการบันทึกโครงการในระบบ
    3. ให้บันทึกกิจกรรมของโครงการให้เป็นปัจจุบัน
    4. ให้บันทึกโครงการและทำใบเบิกในระบบให้ครบถ้วน

     

    50 42

    52. ออกติดตามการทำแผน การดำเนินงานกองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลดอนทรายแบบโซนนิ่งอำเภอควนขนุน อำเภอป่าพะยอม อำเภอศรีบรรบต โดย นางสมทรง ประยูรวงษ์ พร้อมทีมพี่เลี้ยงจังหวัดพัทลุง

    วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงติดตามกองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลดอนทราย พร้อมด้วยทีมพี่เลี้ยงอีก 5 ท่าน พบว่า

    1. การลงข้อมูลพื้นฐานกองทุนฯในเวปไซต์ บันทึกได้ครบทุกรายการ
    2. การลงการเงิน มีการบันทึกการรับเงินจากสปสช. บันทึกรับดอกเบี้ย บันทึกเงินอุดหนุน แต่บางก็กองทุนยังไม่บันทึกการรับเงินอุดหนุนซึ่งในระบบมือได้รับแล้ว
    3. การบันทึกโครงการของกองทุนฯในระบบพบว่าบางกองทุนบันทึกไปเพียงบางโครงการไม่ครบถ้วนตามตาม
    4. บางกองทุนได้มีการบันทึกการออกใบเบิก ทำไดู้กต้องแต่ยังไม่แนบไฟล์ภาพฎีกา
    5. การบันทึกกิจกรรมยังไม่ได้บันทึกกิจกรรม
    6. แนะนำการใช้โปรแกรมเมนูต่างๆเช่น เมนูวิเคราะห์ พร้อมดูสถานะการใช้จ่ายเงินของจังหวัดพัทลุง

    คำแนะนำจากทีมพี่เลี้ยง

    1. การออกใบเบิกให้แนบไฟล์ภาพฎีกาด้วย
    2. การบันทึกข้อมูลโครงการให้แนบไฟล์โครงการด้วยพร้อมแนะนำวิธีการบันทึกโครงการในระบบ
    3. ให้บันทึกกิจกรรมของโครงการให้เป็นปัจจุบัน
    4. ให้บันทึกโครงการและทำใบเบิกในระบบให้ครบถ้วน

     

    42 42

    53. ออกติดตามการทำแผน การดำเนินงานกองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลโตนดด้วน แบบโซนนิ่งอำเภอควนขนุน อำเภอป่าพะยอม อำเภอศรีบรรพต โดย นางสมทรง ประยูรวงศ์ พร้อมทีมพี่เลี้ยงจังหวัดพัทลุง

    วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงติดตามกองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลโตนดด้วน พร้อมด้วยทีมพี่เลี้ยงอีก 5 ท่าน พบว่า

    1. การลงข้อมูลพื้นฐานกองทุนฯในเวปไซต์ บันทึกได้ครบทุกรายการ
    2. การลงการเงิน มีการบันทึกการรับเงินจากสปสช. บันทึกรับดอกเบี้ย บันทึกเงินอุดหนุน แต่บางก็กองทุนยังไม่บันทึกการรับเงินอุดหนุนซึ่งในระบบมือได้รับแล้ว
    3. การบันทึกโครงการของกองทุนฯในระบบพบว่าบางกองทุนบันทึกไปเพียงบางโครงการไม่ครบถ้วนตามตาม
    4. บางกองทุนได้มีการบันทึกการออกใบเบิก ทำไดู้กต้องแต่ยังไม่แนบไฟล์ภาพฎีกา
    5. การบันทึกกิจกรรมยังไม่ได้บันทึกกิจกรรม
    6. แนะนำการใช้โปรแกรมเมนูต่างๆเช่น เมนูวิเคราะห์ พร้อมดูสถานะการใช้จ่ายเงินของจังหวัดพัทลุง

    คำแนะนำจากทีมพี่เลี้ยง

    1. การออกใบเบิกให้แนบไฟล์ภาพฎีกาด้วย
    2. การบันทึกข้อมูลโครงการให้แนบไฟล์โครงการด้วยพร้อมแนะนำวิธีการบันทึกโครงการในระบบ
    3. ให้บันทึกกิจกรรมของโครงการให้เป็นปัจจุบัน
    4. ให้บันทึกโครงการและทำใบเบิกในระบบให้ครบถ้วน

     

    50 42

    54. ออกเยี่ยมติดตามการทำแผน การดำเนินงานกองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลควนขนุน แบบโซนนิ่งอำเภอควนขนุน อำเภอป่าพะยอม อำเภอศรีบรรพต โดยนางสมทรง ประยูรวงศ์ พร้อมทีมพี่เลี้ยงจังหวัดพัทลุง

    วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงติดตามกองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลควนขนุน พร้อมด้วยทีมพี่เลี้ยงอีก 5 ท่าน พบว่า

    1. การลงข้อมูลพื้นฐานกองทุนฯในเวปไซต์ บันทึกได้ครบทุกรายการ
    2. การลงการเงิน มีการบันทึกการรับเงินจากสปสช. บันทึกรับดอกเบี้ย บันทึกเงินอุดหนุน แต่บางก็กองทุนยังไม่บันทึกการรับเงินอุดหนุนซึ่งในระบบมือได้รับแล้ว
    3. การบันทึกโครงการของกองทุนฯในระบบพบว่าบางกองทุนบันทึกไปเพียงบางโครงการไม่ครบถ้วนตามตาม
    4. บางกองทุนได้มีการบันทึกการออกใบเบิก ทำไดู้กต้องแต่ยังไม่แนบไฟล์ภาพฎีกา
    5. การบันทึกกิจกรรมยังไม่ได้บันทึกกิจกรรม
    6. แนะนำการใช้โปรแกรมเมนูต่างๆเช่น เมนูวิเคราะห์ พร้อมดูสถานะการใช้จ่ายเงินของจังหวัดพัทลุง

    คำแนะนำจากทีมพี่เลี้ยง

    1. การออกใบเบิกให้แนบไฟล์ภาพฎีกาด้วย
    2. การบันทึกข้อมูลโครงการให้แนบไฟล์โครงการด้วยพร้อมแนะนำวิธีการบันทึกโครงการในระบบ
    3. ให้บันทึกกิจกรรมของโครงการให้เป็นปัจจุบัน
    4. ให้บันทึกโครงการและทำใบเบิกในระบบให้ครบถ้วน

     

    50 42

    55. ออกติดตามการทำแผน การดำเนินงานกองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลหนองพ้อ แบบโซนนิ่งอำเภอควนขนุน อำเภอป่าพะยอม อำเภอศรีบรรพต โดย นางสมทรง ประยูรวงษ์ พร้อมทีมพี่เลี้ยงจังหวัดพัทลุง

    วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงติดตามกองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลหนองพ้อ พร้อมด้วยทีมพี่เลี้ยงอีก 5 ท่าน พบว่า

    1. การลงข้อมูลพื้นฐานกองทุนฯในเวปไซต์ บันทึกได้ครบทุกรายการ
    2. การลงการเงิน มีการบันทึกการรับเงินจากสปสช. บันทึกรับดอกเบี้ย บันทึกเงินอุดหนุน แต่บางก็กองทุนยังไม่บันทึกการรับเงินอุดหนุนซึ่งในระบบมือได้รับแล้ว
    3. การบันทึกโครงการของกองทุนฯในระบบ  พบว่าบางกองทุนบันทึกไปเพียงบางโครงการไม่ครบถ้วนตามตาม
    4. บางกองทุนได้มีการบันทึกการออกใบเบิก ทำไดู้กต้องแต่ยังไม่แนบไฟล์ภาพฎีกา
    5. การบันทึกกิจกรรมยังไม่ได้บันทึกกิจกรรม 6  แนะนำการใช้โปรแกรมเมนูต่างๆ  เช่น เมนูวิเคราะห์ พร้อมดูสถานะการใช้จ่ายเงินของจังหวัดพัทลุง

    คำแนะนำจากทีมพี่เลี้ยง

    1. การออกใบเบิกให้แนบไฟล์ภาพฎีกาด้วย
    2. การบันทึกข้อมูลโครงการให้แนบไฟล์โครงการด้วยพร้อมแนะนำวิธีการบันทึกโครงการในระบบ
    3. ให้บันทึกกิจกรรมของโครงการให้เป็นปัจจุบัน
    4. ให้บันทึกโครงการและทำใบเบิกในระบบให้ครบถ้วน

     

    50 42

    56. ออกติดตามการทำแผน การดำเนินงานกองทุนสุขภาพ อบต.เกาะเต่า แบบโซนนิ่งอำเภอควนขนุน อำเภอป่าพะยอม อำเภอศรีบรรพต โดย นาย อัษฎาวุธ ศิริธร พร้อมทีมพี่เลี้ยงจังหวัดพัทลุง

    วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงติดตามกองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลเกาะเต่า พร้อมด้วยทีมพี่เลี้ยงอีก 5 ท่าน พบว่า

    1. การลงข้อมูลพื้นฐานกองทุนฯในเวปไซต์ บันทึกได้ครบทุกรายการ
    2. การลงการเงิน มีการบันทึกการรับเงินจากสปสช. บันทึกรับดอกเบี้ย บันทึกเงินอุดหนุน แต่บางก็กองทุนยังไม่บันทึกการรับเงินอุดหนุนซึ่งในระบบมือได้รับแล้ว
    3. การบันทึกโครงการของกองทุนฯในระบบ  พบว่าบางกองทุนบันทึกไปเพียงบางโครงการไม่ครบถ้วนตามตาม
    4. บางกองทุนได้มีการบันทึกการออกใบเบิก ทำไดู้กต้องแต่ยังไม่แนบไฟล์ภาพฎีกา
    5. การบันทึกกิจกรรมยังไม่ได้บันทึกกิจกรรม 6  แนะนำการใช้โปรแกรมเมนูต่างๆ  เช่น เมนูวิเคราะห์ พร้อมดูสถานะการใช้จ่ายเงินของจังหวัดพัทลุง

    คำแนะนำจากทีมพี่เลี้ยง

    1. การออกใบเบิกให้แนบไฟล์ภาพฎีกาด้วย
    2. การบันทึกข้อมูลโครงการให้แนบไฟล์โครงการด้วยพร้อมแนะนำวิธีการบันทึกโครงการในระบบ
    3. ให้บันทึกกิจกรรมของโครงการให้เป็นปัจจุบัน
    4. ให้บันทึกโครงการและทำใบเบิกในระบบให้ครบถ้วน

     

    50 42

    57. ออกติดตามการทำแผน การดำเนินงานกองทุนสุขภาพอบต.ตะแพนแบบโซนนิ่งอำเภอควนขนุน อำเภอป่าพะยอมโดย นางลัดดาวัลย์ ธรรมสกุลพร้อมกับทีมพี่เลี้ยงจังหวัดพัทลุง

    วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงติดตามกองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลตะแพน พร้อมด้วยทีมพี่เลี้ยงอีก 5 ท่าน พบว่า

    1. การลงข้อมูลพื้นฐานกองทุนฯในเวปไซต์ บันทึกได้ครบทุกรายการ
    2. การลงการเงิน มีการบันทึกการรับเงินจากสปสช. บันทึกรับดอกเบี้ย บันทึกเงินอุดหนุน แต่บางก็กองทุนยังไม่บันทึกการรับเงินอุดหนุนซึ่งในระบบมือได้รับแล้ว
    3. การบันทึกโครงการของกองทุนฯในระบบ  พบว่าบางกองทุนบันทึกไปเพียงบางโครงการไม่ครบถ้วนตามตาม
    4. บางกองทุนได้มีการบันทึกการออกใบเบิก ทำไดู้กต้องแต่ยังไม่แนบไฟล์ภาพฎีกา
    5. การบันทึกกิจกรรมยังไม่ได้บันทึกกิจกรรม 6  แนะนำการใช้โปรแกรมเมนูต่างๆ  เช่น เมนูวิเคราะห์ พร้อมดูสถานะการใช้จ่ายเงินของจังหวัดพัทลุง

    คำแนะนำจากทีมพี่เลี้ยง

    1. การออกใบเบิกให้แนบไฟล์ภาพฎีกาด้วย
    2. การบันทึกข้อมูลโครงการให้แนบไฟล์โครงการด้วยพร้อมแนะนำวิธีการบันทึกโครงการในระบบ
    3. ให้บันทึกกิจกรรมของโครงการให้เป็นปัจจุบัน
    4. ให้บันทึกโครงการและทำใบเบิกในระบบให้ครบถ้วน

     

    50 42

    58. ออกติดตามการทำแผน การดำเนินงานกองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลลานข่อย แบบโซนนิ่งอำเภอควนขนุน อำเภอป่าพะยอม อำเภอศรีบรรพต โดย นางลัดดาวัลย์ ธรรมสกุล พร้อมทีมพี่เลี้ยงจังหวัดพัทลุง

    วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงติดตามกองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลลานข่อย พร้อมด้วยทีมพี่เลี้ยงอีก 5 ท่าน พบว่า

    1. การลงข้อมูลพื้นฐานกองทุนฯในเวปไซต์ บันทึกได้ครบทุกรายการ
    2. การลงการเงิน มีการบันทึกการรับเงินจากสปสช. บันทึกรับดอกเบี้ย บันทึกเงินอุดหนุน แต่บางก็กองทุนยังไม่บันทึกการรับเงินอุดหนุนซึ่งในระบบมือได้รับแล้ว
    3. การบันทึกโครงการของกองทุนฯในระบบพบว่าบางกองทุนบันทึกไปเพียงบางโครงการไม่ครบถ้วนตามตาม
    4. บางกองทุนได้มีการบันทึกการออกใบเบิก ทำไดู้กต้องแต่ยังไม่แนบไฟล์ภาพฎีกา
    5. การบันทึกกิจกรรมยังไม่ได้บันทึกกิจกรรม
      6.แนะนำการใช้โปรแกรมเมนูต่างๆเช่น เมนูวิเคราะห์ พร้อมดูสถานะการใช้จ่ายเงินของจังหวัดพัทลุง

    คำแนะนำจากทีมพี่เลี้ยง

    1. การออกใบเบิกให้แนบไฟล์ภาพฎีกาด้วย
    2. การบันทึกข้อมูลโครงการให้แนบไฟล์โครงการด้วยพร้อมแนะนำวิธีการบันทึกโครงการในระบบ
    3. ให้บันทึกกิจกรรมของโครงการให้เป็นปัจจุบัน
    4. ให้บันทึกโครงการและทำใบเบิกในระบบให้ครบถ้วน

     

    50 42

    59. ออกติดตามการทำแผน การดำเนินงานกองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลมะกอกเหนือ แบบโซนนิ่งอำเภอควนขนุน อำเภอป่าพะยอม อำเภอควนขนุน โดย นางลัดดาวัลย์ ธรรมสกุล พร้อมทีมพี่เลี้ยงจังหวัดพัทลุง

    วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงติดตามกองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลมะกอกเหนือ พร้อมด้วยทีมพี่เลี้ยงอีก 5 ท่าน พบว่า

    1. การลงข้อมูลพื้นฐานกองทุนฯในเวปไซต์ บันทึกได้ครบทุกรายการ
    2. การลงการเงิน มีการบันทึกการรับเงินจากสปสช. บันทึกรับดอกเบี้ย บันทึกเงินอุดหนุน แต่บางก็กองทุนยังไม่บันทึกการรับเงินอุดหนุนซึ่งในระบบมือได้รับแล้ว
    3. การบันทึกโครงการของกองทุนฯในระบบ  พบว่าบางกองทุนบันทึกไปเพียงบางโครงการไม่ครบถ้วนตามตาม
    4. บางกองทุนได้มีการบันทึกการออกใบเบิก ทำไดู้กต้องแต่ยังไม่แนบไฟล์ภาพฎีกา
    5. การบันทึกกิจกรรมยังไม่ได้บันทึกกิจกรรม 6  แนะนำการใช้โปรแกรมเมนูต่างๆ  เช่น เมนูวิเคราะห์ พร้อมดูสถานะการใช้จ่ายเงินของจังหวัดพัทลุง

    คำแนะนำจากทีมพี่เลี้ยง

    1. การออกใบเบิกให้แนบไฟล์ภาพฎีกาด้วย
    2. การบันทึกข้อมูลโครงการให้แนบไฟล์โครงการด้วยพร้อมแนะนำวิธีการบันทึกโครงการในระบบ
    3. ให้บันทึกกิจกรรมของโครงการให้เป็นปัจจุบัน
    4. ให้บันทึกโครงการและทำใบเบิกในระบบให้ครบถ้วน

     

    50 42

    60. ออกลงนิเทศกองทุนแบบโซนนิ่ง กองทุนชะมวง โดยนางวาลัยพร ด้วงคง

    วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงนิเทศก์กองทุนโซนอำเภอควนขนุนอำเภอป่าพะยอมอำเภอศรีบรรบตทั้งหมด21กองทุนเข้าร่วมกองทุนละ2ท่านมีทีมพี่เลี้ยงในจังหวัดพัทลุงที่เข้าร่วมทั้งหมด8ท่านรวมเป็น50ท่านจากการลงนิเทศก์กองทุนในโซนพื้นที่ดังกล่าวพบว่าปัญหาหลักของกองทุนในพื้นที่ดังกล่าวมีหลายๆปัญหาด้วยกันสรุปได้ดังนี้
    1.พื้นที่ดำเนินการดังกล่าวยังไม่ดำเนินการคีย์ข้อมูล กิจกรรมต่างๆในระบบโปรแกรมออนไลน์
    2.ข้อมูลต่างๆยังลงไม่ครบทุกกิจกรรมเนื่องจากการขาดความเข้าใจและผู้รับผิดชอบในการคีย์โครงการหรือ ข้อมูลต่างๆ ทำให้ไม่เป็นปัจจุบัน ยังคีย์ข้อมูลในระบบเดิม
    3.หน่วยงานที่ของบสนับสนุนจากกองทุนยังขาดความเข้าใจในการทำโครงการของประมาณจึงทำให้เกิดเงินค้างท่่ออยู่ในระบบเยอะมาก
    4.ขาดเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในงานกองทุนเนื่องจากไม่มีเจ้าหน้าที่โดยตรงทำให้การทำงานกองทุนล่าช้า
    5.ระเบียบหลักเกณฑ์ของ สปสช.ไม่ชัดเจนทำให้มีปัญหาในการเบิกจ่ายเงิน
    6.ท้องถิ่นยังคิดว่างานกองทุนเป็นงานรับฝากทำให้เกิดการบริหารกองทุนไม่เข้มแข็ง
    7.คณะกรรมการกองทุนขาดวามเข่้าใจในการบริหารกองทุน

    ซึ่งปัญหาดังกล่าวข้าพเจ้าและทีมพี่เลี้ยงได้ดำเนินการอธิบายและหาแนวทางแก้ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นของแต่ละกองทุนให้แต่ละกองทุนดำเนินการคีย์ขอมูลต่างๆให้เป็นปัจจุบัน และรีบดำเนินการเบิกจ่ายเงินให้เร็วที่สุดเพื่อจะได้ไม่มีเงินค้างท่อมากเกินกองทุนต่างๆมีความเข้าใจในการปฎิบัติงานในกองทุนมากขึ้น

     

    50 50

    61. ออกติดตามเยี่ยมกองทุนและลงนิเทศก์กองทุน อบต.พนมวังค์ โดย นายไพฑูรย์ ทองสม ร่วมกับทีมพี่เลี้ยง จังหวัดพัทลุง

    วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงติดตามกองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลพนมวังก์ พร้อมด้วยทีมพี่เลี้ยงอีก 5 ท่าน พบว่า

    1. การลงข้อมูลพื้นฐานกองทุนฯในเวปไซต์ บันทึกได้ครบทุกรายการ
    2. การลงการเงิน มีการบันทึกการรับเงินจากสปสช. บันทึกรับดอกเบี้ย บันทึกเงินอุดหนุน แต่บางก็กองทุนยังไม่บันทึกการรับเงินอุดหนุนซึ่งในระบบมือได้รับแล้ว
    3. การบันทึกโครงการของกองทุนฯในระบบ  พบว่าบางกองทุนบันทึกไปเพียงบางโครงการไม่ครบถ้วนตามตาม
    4. บางกองทุนได้มีการบันทึกการออกใบเบิก ทำไดู้กต้องแต่ยังไม่แนบไฟล์ภาพฎีกา
    5. การบันทึกกิจกรรมยังไม่ได้บันทึกกิจกรรม 6  แนะนำการใช้โปรแกรมเมนูต่างๆ  เช่น เมนูวิเคราะห์ พร้อมดูสถานะการใช้จ่ายเงินของจังหวัดพัทลุง

    คำแนะนำจากทีมพี่เลี้ยง

    1. การออกใบเบิกให้แนบไฟล์ภาพฎีกาด้วย
    2. การบันทึกข้อมูลโครงการให้แนบไฟล์โครงการด้วยพร้อมแนะนำวิธีการบันทึกโครงการในระบบ
    3. ให้บันทึกกิจกรรมของโครงการให้เป็นปัจจุบัน
    4. ให้บันทึกโครงการและทำใบเบิกในระบบให้ครบถ้วน

     

    50 42

    62. ออกติดตามกองทุนและลงนิเทศก์กองทุนทศบาลตำบลแพรกหา โดย นายไพฑรย์ ทองสม ร่วมกับทีมพี่เลี้ยง จังหวัดพัทลุง

    วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงติดตามกองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลแพรกหา พร้อมด้วยทีมพี่เลี้ยงอีก 5 ท่าน พบว่า

    1. การลงข้อมูลพื้นฐานกองทุนฯในเวปไซต์ บันทึกได้ครบทุกรายการ
    2. การลงการเงิน มีการบันทึกการรับเงินจากสปสช. บันทึกรับดอกเบี้ย บันทึกเงินอุดหนุน แต่บางก็กองทุนยังไม่บันทึกการรับเงินอุดหนุนซึ่งในระบบมือได้รับแล้ว
    3. การบันทึกโครงการของกองทุนฯในระบบ  พบว่าบางกองทุนบันทึกไปเพียงบางโครงการไม่ครบถ้วนตามตาม
    4. บางกองทุนได้มีการบันทึกการออกใบเบิก ทำไดู้กต้องแต่ยังไม่แนบไฟล์ภาพฎีกา
    5. การบันทึกกิจกรรมยังไม่ได้บันทึกกิจกรรม 6  แนะนำการใช้โปรแกรมเมนูต่างๆ  เช่น เมนูวิเคราะห์ พร้อมดูสถานะการใช้จ่ายเงินของจังหวัดพัทลุง

    คำแนะนำจากทีมพี่เลี้ยง

    1. การออกใบเบิกให้แนบไฟล์ภาพฎีกาด้วย
    2. การบันทึกข้อมูลโครงการให้แนบไฟล์โครงการด้วยพร้อมแนะนำวิธีการบันทึกโครงการในระบบ
    3. ให้บันทึกกิจกรรมของโครงการให้เป็นปัจจุบัน
    4. ให้บันทึกโครงการและทำใบเบิกในระบบให้ครบถ้วน

     

    50 42

    63. ออกติดตามกองทุนตรวจเยี่ยมกองทุน และลงนิเทศก์กองทุน เทศบาลตำบลพนางตุง โดย นายไพฑูรย์ ทองสม ร่วมกับทีมพี่เลี้ยงจังหวัดพัทลุง

    วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงติดตามกองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลพนางตุง พร้อมด้วยทีมพี่เลี้ยงอีก 5 ท่าน พบว่า

    1. การลงข้อมูลพื้นฐานกองทุนฯในเวปไซต์ บันทึกได้ครบทุกรายการ
    2. การลงการเงิน มีการบันทึกการรับเงินจากสปสช. บันทึกรับดอกเบี้ย บันทึกเงินอุดหนุน แต่บางก็กองทุนยังไม่บันทึกการรับเงินอุดหนุนซึ่งในระบบมือได้รับแล้ว
    3. การบันทึกโครงการของกองทุนฯในระบบ  พบว่าบางกองทุนบันทึกไปเพียงบางโครงการไม่ครบถ้วนตามตาม
    4. บางกองทุนได้มีการบันทึกการออกใบเบิก ทำไดู้กต้องแต่ยังไม่แนบไฟล์ภาพฎีกา
    5. การบันทึกกิจกรรมยังไม่ได้บันทึกกิจกรรม 6  แนะนำการใช้โปรแกรมเมนูต่างๆ  เช่น เมนูวิเคราะห์ พร้อมดูสถานะการใช้จ่ายเงินของจังหวัดพัทลุง

    คำแนะนำจากทีมพี่เลี้ยง

    1. การออกใบเบิกให้แนบไฟล์ภาพฎีกาด้วย
    2. การบันทึกข้อมูลโครงการให้แนบไฟล์โครงการด้วยพร้อมแนะนำวิธีการบันทึกโครงการในระบบ
    3. ให้บันทึกกิจกรรมของโครงการให้เป็นปัจจุบัน
    4. ให้บันทึกโครงการและทำใบเบิกในระบบให้ครบถ้วน

     

    50 42

    64. ออกติดตามการทำงานของกองทุนและลงนิเทศก์กองทุน เทศบาลตำบลทะเลน้อย แบบโซนนิ่ง อำเภอ ควนขนุน ป่าพะยอม ศรีบรรบต โดย นาย ไพฑูรย์ ทองสม

    วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงติดตามกองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลทะเลน้อย พร้อมด้วยทีมพี่เลี้ยงอีก 5 ท่าน พบว่า

    1. การลงข้อมูลพื้นฐานกองทุนฯในเวปไซต์ บันทึกได้ครบทุกรายการ
    2. การลงการเงิน มีการบันทึกการรับเงินจากสปสช. บันทึกรับดอกเบี้ย บันทึกเงินอุดหนุน แต่บางก็กองทุนยังไม่บันทึกการรับเงินอุดหนุนซึ่งในระบบมือได้รับแล้ว
    3. การบันทึกโครงการของกองทุนฯในระบบพบว่าบางกองทุนบันทึกไปเพียงบางโครงการไม่ครบถ้วนตามตาม
    4. บางกองทุนได้มีการบันทึกการออกใบเบิก ทำไดู้กต้องแต่ยังไม่แนบไฟล์ภาพฎีกา
    5. การบันทึกกิจกรรมยังไม่ได้บันทึกกิจกรรม
    6. แนะนำการใช้โปรแกรมเมนูต่างๆเช่น เมนูวิเคราะห์ พร้อมดูสถานะการใช้จ่ายเงินของจังหวัดพัทลุง

    คำแนะนำจากทีมพี่เลี้ยง

    1. การออกใบเบิกให้แนบไฟล์ภาพฎีกาด้วย
    2. การบันทึกข้อมูลโครงการให้แนบไฟล์โครงการด้วยพร้อมแนะนำวิธีการบันทึกโครงการในระบบ
    3. ให้บันทึกกิจกรรมของโครงการให้เป็นปัจจุบัน
    4. ให้บันทึกโครงการและทำใบเบิกในระบบให้ครบถ้วน

     

    50 42

    65. ออกติดตามเยี่ยมกองทุนและลงนิเทศน์กองทุนอบต.เขาย่า โดย นางวาลัยพร ด้วงคง ร่วมกับทีมพี่เลี้ยง จังหวัดพัทลุง

    วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการลงนิเทศก์แบบโซนนิ่ง  เขตอำเภอควนขนุน  อำเภอป่าพะยอม  อำเภอศรีบรรบต  จำนวน  21  กองทุน ๆ ละ  2  ท่าน  รวม  42  ท่าน  และทีมพี่เลี้ยงอีกจำนวน  6 ท่าน  รวมเป็นทั้งหมด  48 ท่าน  พบว่ากองทุนโซนนี้มีปัญหาต่างๆ  ดังนี้ 1.  พบว่ายังมีเงินค้างท่ออยู่หลายๆ  กองทุนอาจจะเกิดจากความไม่เข้าใจของคณะกรรมการในการบริหารกองทุน 2.  หน่วยงานที่ของบประมาณกองทุนยังขาดความเข้าใจในการทำโครงการของบประมาณจากกองทุนเป็นส่วนใหญ่
    3.  ปัญหาของกองทุนส่วนใหญ่ขาดความรู้ความเข้าใจในงานกองทุน  ทำให้เกิดการเบิกจ่ายเงินล่าช้า 4.  กองทุนต่างๆ  ยังไม่มีการลงข้อมูลผ่านระบบออนไลน์  ต่างๆ
    5. ขาดเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานของกองทุนเพราะยังคิดว่าเป็นงานรับฝากอยู่ 6. ระเบียบหลักเกณฑ์การเบิกจ่ายเงินของกองทุนไม่ชัดเจน  ทำให้กองทุนไม่กล้าที่จะเบิกจ่ายเงินกลัวจะถูกเรียกเงินคืนจากหน่วยตรวจสอบ 7. ขาดการประสานงานระหว่างท้องถิ่นกับ  สปสช  ส่วนกลาง         ทีมพี่เลี้ยงได้แนะนำให้กองทุนต่างๆ  ที่เข้าร่วมนิเทศก์ในครั้งนี้  ดังรายการต่อไปนี้ 1.  ได้แนะนำวิธีการใช้เวปไซด์ต่างๆ  ในระบบออนไลน์ให้แต่ละกองทุนเข้าใจสามารถเข้าไปใช้งานต่างๆ  ในระบบต่างๆ  ได้ครบทุกระบบ 2.  ได้แนะนำการใช้โปรแกรมในการทำเอกสารต่างๆ  ทำใบเบิกเงิน  ลงบันทึกกิจกรรมต่างๆ  ได้ถูกต้อง 3.  แนะนำให้แต่ละกองทุนดำเนินการคีย์โครงการต่างๆ  ผ่านระบบในเวปไวด์  ของกองทุน  บันทึกกิจกรรมต่างๆ  ได้ครบทุกกิจกรรม 4.  แนะนำให้แต่ละกองทุนรีบดำเนินการเบิกจ่ายเงินให้เหลือน้อยที่สุด  เพื่อไม่ให้มีเงินค้างท่อมากเกินไป

     

    50 50

    66. ออกติดตามตรวจเยี่ยมกองทุนและลงนิเทศก์กองทุน เทศบาลตำบลบ้านพร้าว โดย นางวาลัยพร ด้วงคง ร่วมกับทีมพี่เลี้ยงจังหวัดพัทลุง

    วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการลงพื้นที่ออกเยี่ยมกองทุนและลงนิเทศก์กองทุนแบบโซนนิ่ง  เขต  อำเภอควนขนุน    อำเภอป่าพะยอม  อำเภอศรีบรรบต  จำนวน  21  กองทุน  รวมทั้งหมด  42  คน  และทีมพี่เลี้ยง  จำนวน  6  ท่าน  รวมทั้งหมด  48  ท่าน  จากการลงพื้นที่และลงนิเทศก์กองทุนสรุปปัญหาต่างๆได้ดังนี้ 1.  กองทุนต่างๆ  ยังไม่ดำเนินการบันทึกกิจกรรมในโปรแกรมต่างๆ  ในระบบ 2.  เจ้าหน้าที่ของกองทุนและตัวคณะกรรมการขาดความเข้าใจในการดำเนินงานของกองทุนทำให้เกิดปัญหาในการทำงานของกองทุน 3.  ขาดเจ้าหน้าที่ของกองทุนในการรับผิดชอบงานของกองทุนโดยตำแหน่ง    ทำให้การเบิกจ่ายเงินของกองทุนล่าช้า  เกิดปัญหาเงินค้างท่อในระบบเยอะมาก 4.  ระเบียบหลักเกณฑ์การเบิกจ่ายเงินไม่ชัดเจน  ทำให้เกิดปัญหาในการเบิกจ่ายเงิน  กลัวถูกเรียกเงินคืนจากหน่วยตรวจสอบ 5.  ขาดหน่วยงานที่ของบสนับสนุนจากกองทุนทำให้เกิดเงินเหลือในระบบมาก
                        ทีมพี่เลี้ยงให้คำแนะนำกองทุนต่างๆ  ดังนี้ 1.  แนะนำการใช้โปรแกรมออนไลนต์ในระบบ ทุกๆ  เมนูของระบบออนไลน์
    2.  แนะนำให้ทุกกองทุนรีบดำเนินการคีย์ข้อมูลโครงการที่ผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการกองทุนให้เรียบร้อย 3.  เร่งให้กองทุนรีบดำเนินการเบิกจ่ายเงินให้มากที่สุด  เพื่อให้มีเงินเหลือจ่ายในกองทุนน้อยที่สุด 4.  แนะนำวิธีการเบิกจ่ายเงิน  และระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการปฎิบัติงานของกองทุนเพื่อจะให้คณะกรรมการและผู้รับผิดชอบงานกองทุนได้มีความรู้ความเข้าใจในงานกองทุนมากยิ่งขึ้น

     

    50 48

    67. ประชุมพี่เลี้ยงประจำจังหวัดเพื่อถอดบทเรียนแนวทางการบริหารงานของกองทุนในจังหวัดพัทลุง ครั้งที่ 2

    วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมพี่เลี้ยงจังหวัดพัทลุง  ครั้งที่  3  เพื่อสรุปผลการลงพื้นที่กองทุนในโซนพื้นที่  อำเภอควนขนุน  อำเภอป่าพะยอม  อำเภอศรีบรรบต  ณ  สำนักงานเทศบาลตำบลควนขนุน  เพื่อปรึกษาหารือแนวทางการลงพื้นที่รายกองทุนที่มีปัญหาในเรื่องของเงินค้างท่ออยู่จำนวนมาก  และกองทุนที่มีปัญหาในระบบ  ที่ไม่มีการคีย์ข้อมุลผ่านระบบออนไลน์  และหารือแนวทางการใช้จ่ายเงินโครงการทีมพี่เลี้ยง  ที่สำคัญต้องรีบดำเนินการเร่งให้แต่ละกองทุนรีบดำเนินการเบิกจ่ายเงินให้เหลือน้อยที่สุดแต่ต้องถูกต้องตามระเบียบกองทุนด้วย ให้ทีมพี่เลี้ยงในจังหวัดพัทลุงคีย์ข้อมูลในระบบได้อย่างถูกต้อง  ตามรูปแบบของกองทุน  และเร่งลงพื้นที่  ในการทำงานเชิงรุก

     

    15 15

    68. ติดตามการทำแผน,การดำเนินงานของกองทุนสุขภาพตำบลปากพะยูน โดย นางวาลัยพร ด้วงคง

    วันที่ 11 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ลงติดตามกองทุนเทศบาลตำบลปากพะยูน  กับฝ่ายเลขากองทุน พบว่าทางกองทุนเทศบาลตำบลปากพะยูนยังทำรายงานต่างๆ  ผ่านระบบยังไม่ถูกต้อง  จึง ได้แนะนำการลงข้อมูลต่างๆ  คีย์ข้อมูล  ต่างๆ  ผ่านระบบ  การลงบัญชีเบิกจ่ายเงินในระบบ  การคีย์โครงการต่างๆ    การจัดทำการรายงานผลโครงการที่เสร็จแล้ว  รายงานผลให้  สปสช  ส่วนกลาง 

     

    3 3

    69. ติดตามการทำแผน,การดำเนินงานของกองทุนสุขภาพตำบลหารเทา โดยนางวาลัยพร ด้วงคง

    วันที่ 29 สิงหาคม 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ลงพื้นที่เทศบาลตำบลหารเทาในเรื่องของการจัดทำแผนกองทุนประจำปี2561
    2. จัดอบรมให้ความรู้กับคณะกรรมการกองทุนอนุกรรมการกองทุนในเรื่องของตัวประกาศเรื่องระเบียบ หลักเกณฑ์ต่างๆ
    3. เรื่องเกี่ยวกับการลงข้อมูลในระบบออนไลน์ในเวปกองทุน
    4. เรื่องกับการทำโครงการต่างๆให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของกองทุน จากการลงพื้นที่พบว่าเทศบาลตำบลหารเทาสามารถดำเนินการในเรื่องของการจัดทำแผนปี2561ได้อย่างเกือบจะสมใบูรณ์แบบเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบในงานกองทุนเข้าใจในตัวระบบเป็นอย่างดีมีการเบิกจ่ายเงินในระบบทุกโครงการ

     

    35 35

    70. ประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนการลงพื้นที่ตรวจเยี่่ยมกองทุนต่าง ๆในจังหวัดพัทลุง เพื่อหาข้อสรุปในการลงติดตาม ครั้งที่ 1

    วันที่ 8 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการลงพื้นที่แต่ละกองทุนในจังหวัดพัทลุงพบว่าจากต้นปีงบประมาณมีเงินคงเหลือค้างท่อเยอะมากในจังหวัดพัทลุง ไม่มีการเบิกจ่ายในระบบเท่าที่ควรแต่จากการที่มีกลไกทีมพี่เลี้ยงสามารถที่จะลงพื้นที่ที่รับผิดชอบแต่ละกองทุนให้สามารถนำเงินออกมาจากระบบพบว่ากองทุนในจังหวัดพัทลุงมีการเบิกจ่ายเงินได้มากขึ้นในระบบมีบางกองทุนที่ไม่เคลื่อนไหวทางทีมพี่เลี้ยงได้วางแผนที่จะลงพื้นที่ที่ไม่เคลื่อนไหวภายในเดือนกันยายน2560ซึ่งพบว่าจังหวัดพัทลุงมีแค่4-5กองทุนจากการลงพื้นที่แต่ละกองทุนที่มีปัญหาพบว่าประเด็นที่สำคัญที่ทำให้กองทุนไม่เคลื่อนไหว สรุปปัญหาได้ดังนี้
    1. ปัญหานโยบายของตัวผู้บริหาร
    2. ขาดบุคลากรที่รับผิดชอบงานกองทุนโดยตรง
    3. ขาดหน่วยที่ของบสนับสนับกองทุน
    จากปัญหาดังกล่าวทีมพี่เลี้ยงได้หาแนวทางในการแก้ปัญหาดังกล่าวโดยการลงพื้นที่กองทุนที่มีปัญหาตัวต่อตัว เพื่อเข้าไประดมการเบิกจ่ายต่างๆเพื่อให้ทันในปีงบประมาณ2560ต่อไป

     

    16 7

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ทีมพี่เลี้ยง (Coaching Team) ลงสนับสนุนการทำงานของกองทุนฯ ติดตามการทำงานและให้กองทุนฯรายงานผลโครงการผ่านโปรแกรมระบบบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบลแบบออนไลน์
    ตัวชี้วัด : 1.1 เกิดทีมพี่เลี้ยงจังหวัดพัทลุง จำนวน16 คน 1.2 เกิดแผนทำงานลงสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบลเกี่ยวกับการปรับแผนงานและโครงการด้านสุขภาพภายในจังหวัดพัทลุง จำนวน 73 แห่ง 1.3 กองทุนสุขภาพตำบลในจังหวัดพัทลุงป้อนข้อมูลเกี่ยวกับข้อมูลพื้นฐาน การเงิน โครงการที่ถุกต้อง และบันทึกการทำกิจกรรมอย่างน้อยร้อยละ 80 ของกองทุนในความรับผิดชอบ

     

    2 เพื่อให้กองทุนสุขภาพตำบลในจังหวัดพัทลุงมีการบริหารที่มีประสิทธิภาพและมีความโปร่งใส
    ตัวชี้วัด : 2.1 กองทุนสุขภาพตำบลจำนวน 73 แห่ง มีแผนดำเนินงานและโครงการด้านการแก้ปัญหาสุขภาพของชุมชน 2.2 กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารเงินคงเหลือจนสามารถใช้จ่ายในการดำเนินโครงการไม่น้อยกว่า 75 %

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ทีมพี่เลี้ยง (Coaching Team) ลงสนับสนุนการทำงานของกองทุนฯ ติดตามการทำงานและให้กองทุนฯรายงานผลโครงการผ่านโปรแกรมระบบบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบลแบบออนไลน์ (2) เพื่อให้กองทุนสุขภาพตำบลในจังหวัดพัทลุงมีการบริหารที่มีประสิทธิภาพและมีความโปร่งใส

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบลโดยพี่เลี้ยง จังหวัดพัทลุง ปี2560 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 60-FW-93000

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายคุณภาพ คงเจือ และทีมพี่เลี้ยงจังหวัดพัทลุง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด