กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบบริการคลินิกโรคเรื้อรัง
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
วันที่อนุมัติ 14 ธันวาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 45,450.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางดวงพรหมัดสุเด็น
พี่เลี้ยงโครงการ นาย ณัฎฐเกียรติ ชำนิธุระการ
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เพื่อป้องกันการเกิดการสูญเสียด้านทรัพยากรและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วย ครอบครัว สังคม ตลอดจนเศรษฐกิจของประเทศชาติ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่จึงจัดทำโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพโรคเรื้อรังแบบครบวงจรขึ้น เพื่อบูรณาการระบบบริการในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงแบบองค์รวม เนื่องจากผู้ป่วยใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยู่ที่บ้านกับครอบครัวและชุมชน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 กลุ่มผู้ป่วย 1.เพื่อจัดกิจกรรมบริการคลีนิกเรื้อรังในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงอย่างต่อเนื่อง ที่ใกล้บ้านใกล้ใจ ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงง่าย 2.เพื่อลดอุบัติการณ์เกิดผู้ป่วยรายใหม่ 3.เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยดรคเรื้อรัง กลุ่มเสี่ยง 1.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังให้สามารถดูแลตัวเองได้ 2.เพื่อลดอุบัติการณ์เกิดผู้ป่วยรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง กลุ่มปกติ อายุ 35 ปีขึ้นไป 1.เพื่อคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงแก่กลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปี ขึ้นไปและส่งต่อรับการรักษา กรณีพบผลตรวจผิดปกติ 2.เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังการเกิดกลุ่มเสี่ยงหรือผู้ป่วยรายใหม่ กลุ่มผู้ดูแลผู้ป่วย (อาสาสมัครประจำครอบครัว) 1.เพื่อจัดการอบรมให้ผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยโรคเรื้อรังในครัวเรือน

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 45,450.00 7 45,450.00
12 ก.ค. 61 จัดซื้อป้ายไวนิล 0 1,200.00 1,200.00
16 ก.ค. 61 จัดซื้อเอกสารประกอบการประชุม 0 7,500.00 7,500.00
25 ก.ค. 61 จัดจ้างอาหารกลางวัน อาหารว่างและเครื่องดื่ม 0 18,750.00 18,750.00
31 ก.ค. 61 จัดจ้างอาหารกลางวัน อาหารว่างและเครื่องดื่ม 0 9,375.00 9,375.00
16 ส.ค. 61 จ่ายค่าตอบแทนในโครงการพัฒนาระบบบริการคลินิกโรคเรื่อรัง ประจำปี 2561 0 3,000.00 3,000.00
24 ก.ย. 61 จัดจ้างอาหารกลางวัน อาหารว่างและเครื่องดื่ม 0 3,875.00 3,875.00
19 พ.ย. 61 จัดจ้างอาหารกลางวัน อาหารว่างและเครื่องดื่ม 0 1,750.00 1,750.00

ขั้นเตรียมการ 1.เจ้าหน้าที่สาธารณสุขร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุข สำรวจข้อมูลและจัดทำทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรังในพท้นที่ พร้อมติดตามเข้ารับบริการในหน่วยงาน 2.จัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ 3.ประสานงานกับภาคีเครือข่ายในชุมชน และหอกระจายข่าวในพื้นที่เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์โครงการ 4.จัดทำสื่อ,เอกสารและปผ่นพับให้ความรู้และป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ ขั้นดำเนินการ 1.กลุ่มป่วย ให้บริการคลินิกโรคเรื้อรังอย่างครบวงจรแก่ผู้ป่วย จาก รพ.สต.ในตำบลปาดังเบซาร์ ได้แก่ รพ.สต.บ้านไร่ รพ.สต.เขารูปช้าง รพ.สต.ท่าข่อย เดือนละ 1 ครั้ง ในวันพฤหัสบดีสัปดาห์ที่ 3 ของเดือน ณ รพ.สต.บ้านไร่ โดยทีมสหวิชาชีพจาก รพ.ปาดังเบซาร์และเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานจากทั้ง รพ.สต. ทั้ง 3 แห่ง 2.กลุ่มเสี่ยง นำเข้าร่วมกิจกรรมคลินิกไร้พุง ลดโรค เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง ให้มีความรู้ในการปฏิบัติตัวเพื่อลดความเสี่ยงต่อการป่วยด้วยโรคเรื้อรังและส่งต่อเข้ารับการรักษาเป็นกลุ่มป่วยในผู้ที่ไม่สามารถควบคุมโรคได้ 3.กลุ่มปกติ รณรงค์ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงแก่กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่อย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี 4.กลุ่มผู้ดูแลผู้ป่วย (อาสาสมัครประจำครอบครัว) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างศักยภาพของผู้ดูแลผู้ป่วย เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยในการดุแลสุขภาพของตนเอง 5.สรุปผลการดำเนินงาน และประเมินผล

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ไม่ขาดยา 2.จำนวนผู้ป่วยรายใหม่และกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ลดลง 3.ผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้ในการดุแลสุขภาพของผู้ป่วยในครัวเรือนของตนเอง 4.อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงลดลง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 มี.ค. 2561 11:18 น.