กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โรงเรียนบ้านตูแตหรำ ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนานักเรียนในด้านสุขภาพทั้งร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ จึงได้เริ่มโครงการด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care) ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพของนักเรียนที่มีปัญหา เช่น นักเรียนน้ำหนักเกินเกณฑ์ เนื่องจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกภาวะทุพโภชนาการ ทำให้นักเรียนฟันผุ ปัญหานักเรียนขาดเรียนบ่อย เนื่องจากป่วยเป็นไข้เลือดออก และปัญหานักเรียนเป็นเหา ซึ่งปัญหาต่างๆ จะส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียนทั้งสิ้น

ผลการดำเนินโครงการด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care) เพื่อแก้ปัญหาต่างๆนี้ ผลปรากฎว่า 1. ร้อยละ 95 ของผู้ปกครองและนักเรียนมีวามรู้ เกี่ยวกับภาวะทุพโภชนาการ สุขภาพช่องปาก สุขวิทยา และป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกได้

  1. ร้อยละ 100 นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทุพโภชนาการโดยแยกกลุ่มนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนเกินเกณฑ์ จำนวน 13 คน ให้รับประทานอาหารตามเมนูอาหารที่เหมาะสมกับภาวะโภชนาการของนักเรียน ให้ความรู้และประเมินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง ผลปรากฎว่านักเรียนมีน้ำหนักลดลง จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 46.15 มีน้ำหนักเท่าเดิม จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 23.08 และน้ำหนักเพิ่มขึ้นจำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 30.76

  2. ร้อยละ 80 นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม ปรากฎว่า นักเรียนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 61.54

  3. ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีสุขภาพฟันที่แข็งแรง

  4. ร้อยละ 70 นักเรียนที่เป็นเหา นักเรียนเป็นเหาลดลงจำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 75.00

  5. อัตราป่วยของนักเรียนด้วยโรคไข้เลือกออกลดลง เนื่องจากช่วยกันกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชนกับโรงเรียน

  6. ผลของการหาค่า HI และ CI ในหมู่บ้าน และโรงเรียนบ้านตูแตหรำ พบว่า ค่า HI เท่ากับ 6 และค่า CI เท่ากับ 3 ซึ่งมีค่าน้อยกว่าค่ามาตรฐาน จึงทำให้ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก

จากการดำเนินโครงการด้วยรักและใส่ใจสุขภาพ (Health and Healthy Care) ได้รับผลการพัฒนาที่ดีในการดูแลสุขภาพของนักเรียนจึงส่งผลให้การเรียนรู้ของนักเรียนดีขึ้นด้วย

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

(1) ระยะเวลาในการดำเนินโครงการน้อยเกินไป

(2) สภาพอากาศไม่เอื้ออำนวยต่อการดำเนินกิจกรรมในแต่ละกิจกรรม

(3) บางกิจกรรมยังไม่ได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองเท่าที่ควร เนื่องจากผู้ปกครองต้องทำงานทุกวัน

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ