กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ Anemia mobile เพื่อแก้ปัญหาภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์
รหัสโครงการ 61-L3308-01-06
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านชะรัด
วันที่อนุมัติ 22 กุมภาพันธ์ 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 2 กรกฎาคม 2561 - 11 กรกฎาคม 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2561
งบประมาณ 13,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายประเทือง อมรวิริยะชัย
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.473,99.989place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 2 ก.ค. 2561 11 ก.ค. 2561 13,600.00
รวมงบประมาณ 13,600.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 284 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ภาวะโลหิตจางเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญซึ่งพบได้ทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย จากข้อมูลทางระบาดวิทยาเชิงสถิติ ได้รายงานขนาดปัญหาโลหิตจางในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา โดยการสำรวจที่เป็นตัวแทนของระดับประเทศ พบว่าความชุกของภาวะ  โลหิตจางในหญิงมีครรภ์เท่ากับร้อยละ 25-30 และแนวโน้มมีความรุนแรงเพิ่มขึ้น ข้อมูลเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นพบว่า มีความชุกเฉลี่ยร้อยละ 13-15 ในขณะที่ความชุกของเด็กทารกอาจสูงถึงร้อยละ 30-40 และวัยก่อนเรียนประมาณร้อยละ 15-20 วัยเจริญพันธุ์ ร้อยละ 20-25  หญิงมีครรภ์ร้อยละ 30-34 และหญิงให้นมบุตรร้อยละ 20-25 (พัตธณี วินิจจะกูล และวีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์, 2544) หญิงวัยเจริญพันธุ์เป็นประชากรกลุ่มหนึ่งที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะโลหิตจาง เนื่องจากมีการสูญเสียธาตุเหล็กไปกับประจำเดือน ประมาณ 12.5-15 มิลลิกรัมต่อเดือน หรือเฉลี่ยวันละ 0.4-0.5 มิลลิกรัม ซึ่งปกติร่างกายจะสูญเสียธาตุเหล็กจากการขับถ่ายวันละ 0.5-1.0 มิลลิกรัม และยังมีการสูญเสียธาตุเหล็กออกไปทางปัสสาวะ ผิวหนัง บาดแผล และการบริจาคโลหิต นอกจากนี้พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้องทำให้ร่างกายได้รับธาตุเหล็กไม่เพียงพอ (ศุภิสรา วรโคตร, ผ่องศรี เถิงนำมา, นันทา ศรีนา และปราณี ธีรโสภณ, 2554) ผลกระทบหากหญิงวัยเจริญพันธุ์ขาดธาตุเหล็กในระยะก่อนตั้งครรภ์ จะส่งผลเมื่อตั้งครรภ์ ต่อการเจริญเติบโตทั้งทางร่างกายและสมองของทารกในครรภ์ มีพัฒนาการด้านร่างกายล่าช้า และสติปัญญาต่ำกว่าปกติ รพสต.บ้านชะรัดพยายามแก้ปัญหาโดยใช้นวตกรรม เชิงกระบวนการ พบว่าการดำเนินงาน Anemia mobile ปี2557 - 2559 ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 268,189,312 รายตามลำดับ พบภาวะซีด 90,39,24 ราย คิดเป็นร้อยละ 33,19.7,7.69 ตามลำดับ จากการติดตามหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่เข้าร่วมโครงการและมีการตั้งครรภ์ในช่วง ต.ค.58 – มี.ค.59 จำนวน 6 รายไม่พบภาวะซีด ดังนั้นเพื่อป้องกันภาวะซีดตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ และลดภาวะซีดในขณะตั้งครรภ์ รพสต.บ้านชะรัด จึงได้นำนวตกรรม Anemia mobile มาดำเนินการเพื่อให้มีความต่อเนื่องในการแก้ไขปัญหาการขาดธาตุเหล็กในกลุ่มหญิงวัยเจริญพันธุ์โดยเฉพาะในกลุ่มที่ไม่ได้คุมกำเนิดและกลุ่มที่พร้อมจะมีบุตร เพื่อให้สามารถป้องกันภาวะโลหิตจางขณะตั้งครรภ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1. เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์ก่อนตั้งครรภ์. ข้อที่ 2. สามารถป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่เข้าร่วมโครงการ ได้มากกว่าร้อยละ 80

ตัวชี้วัดความสำเร็จ - หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ในการป้องกันภาวะโลหิตจางร้อยละ 80

  • หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความรู้เรื่องภาวะโลหิตจางที่ถูกต้อง สามารถนำไปปฏิบัติได้ในชีวิตประจำวัน ร้อยละ 80
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1. เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์ก่อนตั้งครรภ์. ข้อที่ 2. สามารถป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่เข้าร่วมโครงการ ได้มากกว่าร้อยละ 80

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

2 - 11 ก.ค. 61 จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพสตรีและภาวะซีดในวัยเจริญพันธุ์ 13,600.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

ขั้นเตรียมการ 1.ประชุมวางแผนการดำเนินงาน 2.ชี้แจงการดำเนินงานแก่เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องและอสม. 3.สำรวจกลุ่มเป้าหมาย จากฐานข้อมูลประชากรหญิง 15-44 ปี 4.ติดตามกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ 5.จัดทำแผนงานโครงการ 6.จัดทำเอกสาร ลดภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์ 7.เตรียมเจ้าหน้าที่/เตรียมเครื่องปั่นฮีมาโตคริต/อุปกรณ์เจาะเลือด

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.หญิงตั้งครรภ์ภาวะโลหิตหางมีจำนวนลดลง 2.หญิงวัยพันธ์ุมีความรู็เรื่องเรื่องภาวะโลหิตจางที่ถูกต้อง สามารถนำไปปฏิบัติได้ในชีวิตประจำวัน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 มี.ค. 2561 09:39 น.