กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาหม่อม


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2561 ”

ตำบลนาหม่อม อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายสุทิน พรหมทอง

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลนาหม่อม อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5207-01-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาหม่อม อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาหม่อม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาหม่อม อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5207-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,375.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาหม่อม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรังที่มีสาเหตุเกิดจากปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ เช่น กรรมพันธุ์ อายุ และปัจจัยที่สามารถควบคุมได้ เช่น ความอ้วน ความเครียด ขาดการออกกำลังกาย การบริโภคอาหารไม่ถูกส่วน การดื่มสุรา การสูบบุหรี่ ซึ่งล้วนเกิดจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตประจำวันทั้งสิ้น ถ้าหากประชาชนไม่มีการควบคุมปัจจัยดังกล่าว ร่วมกับการมีอายุที่มากขึ้นในช่วง 35 ปีขึ้นไป ย่อมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน หรือความดันโลหิตสูงได้ ซึ่งเมื่อเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าวแล้วจำเป็นต้องได้รับการรักาาและรับประทานยาตลอดชีวิต หรือถ้ามีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมต่อโรค โอกาสเสี่ยงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ เพิ่มมากขึ้นทำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักาาพยาบาลเป็นจำนวนมากทั้งในงบประมาณของประชาชนเองหรือหน่วยงานของรัฐ อาจก่อให้เกิดความรุนแรงของโรค เช่นความพิการได้ หรือการสูญเสียได้ เเบาหวานเป็นโรคซึ่งทั่วโลกกำลังให้ความสนใจอย่างยิ่ง เนื่องจากตัวเลขของผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวานมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ในปัจจุบันพบว่า มีผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวานทั้งสิ้น 189 ล้านคนและคาดว่าในอีก 20 ปี ข้างหน้าจะมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นถึง 324 ล้านคน ที่สำคัญมีความรุนแรงของโรค คือผู้ป่วยโรคเบาหวานส่วนใหญ่เสียชีวิตจากภาวะโรคแทรกซ้อน ซึ่งเป็นสิ่งที่เราสามารถป้องกันและควบคุมได้ อีกทั้งยังพบว่าอายุเฉลี่ยของการเริ่มตเนป่วยเป็นโรคเบาหวานนั้นน้อยลงเรื่อยๆ และมีแนวโน้มจะลุกลามไปถึงเด็กในอนาคตอันใกล้ด้วยการเปลี่ยนแปลงของโลกาภิวัตน์และวิถีการดำรงชีวิตที่เปลี่ยนไป โดยเฉพาะเรื่องพฤติกรรมในการรับประทานอาหาร และการออกกำลังกาย

จากการคัดกรองความเสี่ยงจากโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ของประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ในตำบลนาหม่อม ปีงบประมาณ 2561 พบว่าประชากรจำนวน 3,174 ราย คัดกรองได้ 3,001 ราย คิดเป็นร้อยละ 94.55 เป็นกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน 290 ราย คิดเป็นร้อยละ 9.66 เป้นกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง 842 ราย คิดเป็นร้อยละ 28.05

ดังนั้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาหม่อม ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดอัตราเพิ่มการเพิ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการรับประทานอาหาร และการออกกำลังกาย ลดโอกาสการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามดูแลและมีพฤติกรรมดีขึ้นกลายเป็นกลุ่มปกติ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงเบาหวานความดันโลหิตสูงจำนวน 250 คน โดยจัดอบรม 5 รุ่น
  2. กิจกรรมออกกำลังกาย/ผึกจิตคลายเครียด
  3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้เมนูอาหารลดหวานมันเค็มเมนูส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ความดันเบาหวาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 250
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการรับประทานอาหาร และการออกกำลังกาย ลดโอกาสการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  2. กลุ่มเป้าหมายสามารถดูแลตนเองได้
  3. กลุ่มเป้าหมายสามารถทำแบบสอบถามได้ถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการรับประทานอาหาร และการออกกำลังกาย ลดโอกาสการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองสมัครใจเข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามดูแลและมีพฤติกรรมดีขึ้นกลายเป็นกลุ่มปกติ
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการดูแลกลายเป็นกลุ่มปกติ ร้อยละ 50
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 250
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 250
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการรับประทานอาหาร และการออกกำลังกาย ลดโอกาสการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามดูแลและมีพฤติกรรมดีขึ้นกลายเป็นกลุ่มปกติ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงเบาหวานความดันโลหิตสูงจำนวน 250 คน โดยจัดอบรม 5 รุ่น (2) กิจกรรมออกกำลังกาย/ผึกจิตคลายเครียด (3) แลกเปลี่ยนเรียนรู้เมนูอาหารลดหวานมันเค็มเมนูส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ความดันเบาหวาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง ลดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2561 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5207-01-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุทิน พรหมทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด