กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง


“ โครงการลดภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยเบาหวาน ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ โรงพยาบาลพัทลุง ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ปี ๒๕๖๑ ”

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางนันทิยา พานิชายุนันท์

ชื่อโครงการ โครงการลดภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยเบาหวาน ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ โรงพยาบาลพัทลุง ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ปี ๒๕๖๑

ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2561-L7572-1-014 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยเบาหวาน ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ โรงพยาบาลพัทลุง ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ปี ๒๕๖๑ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยเบาหวาน ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ โรงพยาบาลพัทลุง ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ปี ๒๕๖๑



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยเบาหวาน ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ โรงพยาบาลพัทลุง ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ปี ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2561-L7572-1-014 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กลุ่มของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ที่เป็นปัญหาสาธารณสุขและมีความสำคัญต่อการป่วย พิการและตายก่อนวัยอันควรจำนวนมาก ได้แก่ โรคหัวใจขาดเลือด โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง อัมพฤกษ์ อัมพาต ซึ่งโรคไม่ติดต่อเรื้อรังนี้ไม่ได้มีผลกระทบเฉพาะบุคคลผู้ที่เป็นโรคเท่านั้น แต่ยังส่งผลไปถึงครอบครัว ชุมชน รวมไปถึงการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยพบว่าจากการคาดประมาณการสูญเสียรายได้จากผลผลิตประชาชาติ (GDP) ของประเทศไทยจากหัวใจ อัมพาต และเบาหวาน ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ประมาณ ๔,๒๐๐ ล้านบาท และในอีก ๑๐ ปี ข้างหน้า พ.ศ. ๒๕๕๘ (หากยังคงมีการเพิ่มของปัญหาเช่นเดียวกับเมื่อก่อนปี พ.ศ.๒๕๔๗) จะมีการสูญเสียสะสม เป็นประมาณ ๕๒,๑๕๐ ล้านบาท จากข้อมูลของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข ปี ๒๕๕๐พบอัตราการพักรักษาตัวที่โรงพยาบาลเพิ่มสูงขึ้น จากปี ๒๕๔๐ ทุกโรค ดังนี้ ๑. โรคความดันโลหิตสูง เพิ่มขึ้น ๔.๙๕ เท่า ๒.โรคเบาหวาน เพิ่มขึ้น ๔.๔๐ เท่า ๓.โรคหัวใจขาดเลือดเพิ่มขึ้น ๕.๓๕ เท่า และ ๔. โรคหลอดเลือดสมองเพิ่มขึ้น ๒.๗๕ เท่า นโยบายด้านสาธารณสุข รัฐบาลมุ่งเน้นในการปรับปรุงระบบบริการสาธารณสุขให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ร่วมกับพัฒนาบทบาท อสม.ในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เปลี่ยนจากงานรักษาพยาบาลแบบตั้งรับ มาเน้นการส่งเสริมให้มีการสร้างสุขภาพเชิงรุกของบุคคล ครอบครัว และชุมชน ซึ่งจะมีผลทำให้ระบบบริการสุขภาพในภาพรวม มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ลดปริมาณผู้ป่วยโรคเรื้อรังไปใช้บริการในโรงพยาบาลขนาดใหญ่ลดลง ลดภาระค่าใช้จ่ายและเวลาในการเดินทางของประชาชน อีกทั้งเป็นการประหยัดงบประมาณของชาติในระยะยาว
เขตพื้นที่รับผิดชอบศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ โรงพยาบาลพัทลุง ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ปัจจุบันมีผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 594 คน โดยเป็นผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการที่ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ จำนวน295 คน คิดเป็น ร้อยละ 49.66 ซึ่งพบว่าควบคุมโรคไม่ได้ มีค่าน้ำตาลในเลือดสะสม (HbA1C) > 7 % จำนวน 207 คนคิดเป็นร้อยละ 71 (เกณฑ์น้อยกว่า 60)ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ โรงพยาบาลพัทลุง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ จึงได้ทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อป้องกันและลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง และผู้ป่วยสามารถเข้าถึงการบริการและได้รับการดูแลและรักษาอย่างถูกต้องส่งเสริมการดูแลตนเอง และญาติของผู้ป่วย แบบองค์รวม เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี และความยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมโรคไม่ได้ได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง
  2. เพื่อพัฒนาการดูแลรักษาภาวะน้ำตาลในเลือดสูงแบบมีส่วนร่วมในการจัดการตนเอง และสถานบริการ
  3. เพื่อประเมินผลการดูแลรักษาภาวะน้ำตาลในเลือดสูงโดยมีการติดตามค่าน้ำตาลในเลือดสูงด้วยตนเอง
  4. ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดด้วยตนเองที่บ้านอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้ ติดตามผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 15
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมโรคไม่ได้ มีค่าน้ำตาลในเลือดสะสม (HbA1c) ลดลง ร้อยละ 60

2ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง สามารถลดภาวะแทรกซ้อนได้ดีขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้ ติดตามผล

วันที่ 24 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้ ติดตามผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตามเอกสารที่แนบ(ส่วนที่ 3)

 

15 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมโรคไม่ได้ได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อพัฒนาการดูแลรักษาภาวะน้ำตาลในเลือดสูงแบบมีส่วนร่วมในการจัดการตนเอง และสถานบริการ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อประเมินผลการดูแลรักษาภาวะน้ำตาลในเลือดสูงโดยมีการติดตามค่าน้ำตาลในเลือดสูงด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดด้วยตนเองที่บ้านอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานเขตรับผิดชอบศูนย์แพทย์ชุมชน ดอนยอ โรงพยาบาลพัทลุง ที่ควบคุมโรคไม่ได้ มีค่า HbA1C < 7 % ลดลงร้อยละ 60
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 15 15
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 15 15
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมโรคไม่ได้ได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง  (2) เพื่อพัฒนาการดูแลรักษาภาวะน้ำตาลในเลือดสูงแบบมีส่วนร่วมในการจัดการตนเอง และสถานบริการ (3) เพื่อประเมินผลการดูแลรักษาภาวะน้ำตาลในเลือดสูงโดยมีการติดตามค่าน้ำตาลในเลือดสูงด้วยตนเอง (4) ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดด้วยตนเองที่บ้านอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้ ติดตามผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลดภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยเบาหวาน ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ โรงพยาบาลพัทลุง ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ปี ๒๕๖๑ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2561-L7572-1-014

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนันทิยา พานิชายุนันท์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด