กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเครือข่ายเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมวัณโรคในพื้นที่
รหัสโครงการ 61-L1475-01-13
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.นาข้าวเสีย
วันที่อนุมัติ 12 มีนาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2561 - 30 มิถุนายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2561
งบประมาณ 18,820.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายพงษ์ศักดิ์ เชาวน์วุฒิกุล
พี่เลี้ยงโครงการ นางวลัยภรณ์ เยาดำ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาข้าวเสีย อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.532,99.71place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 71 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันนี้ประชาชนเริ่มมีวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปจากสังคมชนบทเริ่มเข้าสู่สังคมเมืองมากขึ้นทำให้ประชาชนได้รับความสะดวกสบายซึ่งก่อให้เกิดโรคภัยมากมายทั้งโรคที่อุบัติใหม่ และโรคที่ระบาดมานานแล้ว ซึ่งโรคต่างๆที่เกิดขึ้นได้มีความรุนแรงทำให้ประชาชนมีความวิตกกังวลกับโรคที่อุบัติขึ้นใหม่ วัณโรคเป็นปัญหาสำคัญของประเทศไทย ในปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ป่วยรายใหม่ประมาณ 120,000 รายและผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน คาดว่าน่าจะมีประมาณ 2,200 ราย ซึ่งในจำนวนผู้ป่วยรายใหม่นี้มีผู้ป่วยประมาณ 70,000 ราย ที่ขึ้นทะเบียนรักษา และคาดว่ามีผู้ป่วยที่ยังไม่ขึ้นทะเบียนรักษาประมาณ 50,000 ราย ในส่วนผู้ป่วยประชากรต่างด้าวคาดว่ามีผู้ป่วยปีละประมาณ 2,000 ราย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องวัณโรคและการตรวจคัดกรองวัณโรคแก่ อสม. 2.ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ผ่านสื่อเรื่องการเฝ้าระวังวัณโรคและการป้องกันวัณโรค 3.คัดกรองผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อวัณโรคและผู้สัมผัสร่วมบ้าน 4.ติดตามและส่งต่อ กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจคัดกรอง และสงสัยวัณโรคเพื่อเข้ารับการตรวจวินิจฉัย 5.ควบคุมติดตามและให้การช่วยเหลือผู้ป่วยวัณโรคขณะรักษาในบ้าน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ร้อยละ 100 ของกลุ่มสัมผัสร่วมบ้าน กลุ่มเสี่ยงต่อวัณโรค ได้รับการตรวจคัดกรองวัณโรค 2.ร้อยละ 100 ของกลุ่มที่สงสัยป่วยเป็นวัณโรคได้เข้ารับการตรวจวินิจฉัย 3.ร้อยละ 90 อสม.มีความรู้เรื่องวัณโรคและการตรวจคัดกรองวัณโรค

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 มี.ค. 2561 11:32 น.