กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
รหัสโครงการ 61-L1475-01-15
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.นาข้าวเสีย
วันที่อนุมัติ 12 มีนาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2561 - 31 กรกฎาคม 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2561
งบประมาณ 33,400.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายพงษ์ศักดิ์ เชาวน์วุฒิกุล
พี่เลี้ยงโครงการ นางวลัยภรณ์ เยาดำ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาข้าวเสีย อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.532,99.71place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานนับเป็นภัยเงียบที่คร่าชีวิตผู้คนไปเป็นจำนวนมากซึ่งในปี 2560 ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาข้าวเสีย จากการคัดกรองผู้ที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไปจำนวน 1,895 คน พบกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 216 ราย คิดเป็นร้อยละ 11.39 พบกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 118 ราย ผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงถ้าไม่ได้รับการดูแลหรือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมอาจพัฒนาเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้ในอนาคต อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาทำให้เป็นภาระต่อสังคมเศรษฐกิจและครอบครัวที่ต้องทำหน้าที่ดูแลส่วนปัจจัยด้านอื่นๆที่อาจมีความเกี่ยวเนื่องกันได้ก็คือพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.คัดกรองความเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ประเมินภาวะซึมเศร้า 2.จัดทำทะเบียนประชากรกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 3.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน โดยใช้หลัก 3อ 2ส และเฝ้าระวังภาวะสุขภาพด้วยปิงปองจราจร 7 สี 4.จัดกิจกรรมประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยแบบตนเตือน ตน 3อ 2ส ในกลุ่มเสี่ยง 5.สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ร้อยละ 50 ของประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 มี.ค. 2561 15:05 น.