กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ในพื้นที่ทุรกันดาร
รหัสโครงการ 61-5312-1-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลปากนํ้า
วันที่อนุมัติ 23 มีนาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 30 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 17 กันยายน 2561
งบประมาณ 47,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอรุณ เอ็มดู
พี่เลี้ยงโครงการ อนัญญาแสะหลี
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.834,99.691place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 0.00
2 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (47,600.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติ กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องคฺกรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2552 มาตรา 16 (19) กำหนดให้เทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจและหน้าที่ในการ จัดระบบบริการสาธารระประโยคของประชนชนในท้องถิ่น ด้านสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล โโยมีเจนตนารมณ์ให้ อปท.ดำเนินการส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาระบบสุขภาพที่เน้นการสร้างเสริมอันนำไปสู้ภาวะที่ยั่งยืนของประชาชน รวมทั้งจัดให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตฐานอย่างทั่งถึงและมีประสิทธิ์ภาพ ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องการกำหนดหลักเกณ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท่องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการจัดการกองทุนหลักประกันนสุขภาพในระดับพื้นที่ พ.ศ. 2557 ได้ให้ความหมาย การจัดบริหารสาธารณสุข หมายถึงการจัดบริหารสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมถรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิกรุก และแนบท้ายประกาศอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค เรื่องการจัดบริการสาธารณสุขของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่ ลง วีันที่ 25 มีนาคม 2557 (ข้ป 7) กลุ่มประชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง บ้านเกาะบูโหลนตั้งอยู่ในฝั่งทะเลอันดามัน ในเขตรับผิดชอบองค์การบริหารส่วนตำบลปากนํ้า อยู่ห่างท่าเรือปากบาราประมาณ 22 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางโดยเรือหางยาวประมาณ 1.5 ชั่วโมง วิถีชีวิตของชาวบ้านซึ่งส่วนมากเป็นชาวบ้านที่มีพื้นเพมาจากชาวเล มีภาษา ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ เป็นของตัวเอง ด้านข้อมูลสถานะสุขภาพพบว่าประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่สามารถเข้าถึงการบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่งถึง เมื่อเจ็บป่วยหรือมีปัญหาสุขภาพชาวบ้านจะเหมาเรือขึ้นมาบนฝั่ง ซึ่งมีค่าใช้จ่ายสูง ทำให้ชาวบ้านบางส่วนรักษาเองตามเชื่อ ที่สืบทอดปฎิบัติกันมา และช่วงมรสุมจะมีคลื่นแรงไม่สามารถขึ้นฝั่งมารักษาได้ ส่งผลต่อระบบสุขภาพโดยรวมทั้งในระดับบุคคล และชุมชน ข้อมูลการออกให้บริการเมื่อปีที่ผ่านมาพบโรค3 อันดับแรกคือ โรครนะบบทางเดินหายใจร้อยลบะ 21.90 โรคกล้ามเนื้อและกระดูกร้อยละ 11042 และโรคหลอกเลือดร้อยละ 6.66 ในจำนวนนี้ได้ส่งตัวผู้ป่วยมารับการตรวจที่โรงพยาบาลละงู 7 ราย เมื่อสอบถามความพึ่งพอใจต่อความต้องการให้มีการดำเนินโครงการต่อเนื่อง สำรวจจากชาวบ้าน 27 ราย พบว่าชาวบ้านส่วนใหญ่มีร้อยละ 88.56 ดังนั้นกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลปากนํ้า ได้เล็งเห็นความจำเป็นที่องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นต้องจัดบริการสาธารณะ โดยจักกิจกรรมบริการสาธารณสุขด้านการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลเชิงรุกโดยจัดทีมสหวิชาชีพลงไปให้บริการในชุมชน ต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขให้ประชาชนที่มีอยู่ในพื้นที่ห่างไกล ทุรกันดารมีโอกาสในการเข้าถึงระบบบริการสาธารณสุขขั้นปฐมภูมิ
  • เชิงปริมาณ
  1. ออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่เชิงรุก จำนวน 1 ครั้ง
  2. ประชาชนร้อยละ 80 ของบริการมีความพึ่งพอใจ -เชิงคุณภาพ
  3. ประชาชนบ้านเกาะบูโหลนสามารถเข้าถึงสาธารณสุขเพิ่มขึ้น
0.00
2 2.ดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออก 3 เก็บ 3 โรค

-เชิงปริมาณ 1.ร้อยละ 80 ของหลังเรือนทั้งหมดได้รับการควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการพ่นหมอกครัน ใส่ทรายกำจัดลูกนํ้า 2. จัดกิจกรรม big cleaning day 1 ครั้ง -เชิงคุณภาพ 1. ไม่พบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกโรคปวดข้อ และโรคไข้ไวรัสซิกา

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 47,600.00 0 0.00
30 เม.ย. 61 - 28 ก.ย. 61 ออกหน่วยแพทย์เคลื่อที่ 0 47,600.00 -

ขั้นเตรียมการ 1.เขียนโตรงการเสนอคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ 1.1 ประสานงาน/ติดต่อกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น โรงพยาบาลละงู รพ.สต. บ้านบ่อเจ็ดลูก ผู้อำนวยการโรงเรียน ผู้ใหญ่บ้าน 1.2 ขอความอนุเคาระห์ทีมสหวิชาชีพโรงพยาบาลละงู รพ.สต. บ้านบ่อเจ็ดลูกสำนักสาธารณสุขอำเภอละงู 1.3 เตรียมชุมชน ประชุมผู้นำชุมชน กลุ่มต่างๆ ในชุมชน 1.4ประชาสัมพันธ์ให้ประชนทราบ 1.5จ้างเหมาเรือโดยสาร ขั้นตอนดำเนินการ 1.6 ออกให้บริการแบบบูรณาโดยทีมแพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาลนักวิชาการ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และพนักงานขององค์การยบริหารส่วนตำบลปากนํ้า

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. องค์การบริหารส่วนตำบลปากนํ้า ให้การดูแลและจัดบริการสาธารณะแกประชาชนในพื้นที่ห่างไกล และเสริมเติมเต็มในระบบสุขภาพในการให้บริการปฐมภูมิเชิงรุกแกประชาชนในพื้นที่อย่างทั่วถึง
  2. สามารถและช่วยลดและประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินทางมารับบริการสาธารณสุข
  3. ประชาชนได้รับการจัดการบริการสาะารณสุข การจัดบริการเสริมสร้าง การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุกมากขึ้น
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 มี.ค. 2561 10:22 น.