กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคลินิกลดโรค DPAC ตำบลบาโหย ปี 2561
รหัสโครงการ 61-L5259-1-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโหย
วันที่อนุมัติ 9 มกราคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 9 มกราคม 2561 - 28 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 16,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวสูไรยา เจ๊ะเซ็ง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.396,100.884place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 25 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ
70.00
2 ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ
60.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนดให้หน่วยบริการ จัดบริการตามชุดสิทธิประโยชน์การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข (ฉบับที่ 10) พ.ศ. 2559 โดยกำหนดให้สามารถดำเนินการคลอบคลุมตามประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ เรื่องการจัดบริการสาธารณสุขฯ พ.ศ.2547 เอกสารแนบท้ายลงวันที่ 25 มีนาคม 2557 ทุกรายการ ภาวะอ้วนหรือโรคอ้วนมีโอกาสเกิดขึ้นกับบุคคลได้ทุกคน ในปัจจุบันยังไม่สามารถบ่งชี้ปัจจัยเสี่ยงที่แท้จริงของการเกิดภาวะอ้วนได้ อย่างไรก็ตามปัจจัยเสี่ยงที่น่าจะเป็นสาเหตุของการเกิดภาวะอ้วนได้แก่ การรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง มีพลังงานสูงวิถีชีวิต นั่งๆนอนๆ ขาดกิจกรรมทางกาย ประวัติความอ้วนในครอบครัวอายุที่มากขึ้น รวมทั้งการสูบบุหรี่ซึ่งจากนโยบายคนไทยไร้พุง ตามยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีไทยของกระทรวงสาธารณสุข เพื่อเป็นการสร้างเสริมสุขภาพและการเฝ้าระวังภาวะอ้วนลงพุง ลดปัจจัยเสี่ยงกลุ่มอาการ Metabolic อีกทั้งเพื่อเป็นต้นแบบองค์กรไร้พุงคณะกรรมการและคณะทำงานองค์กรไร้พุงโรงพยาบาลดำเนินสะดวก จึงได้จัดโครงการส่งเสริมการดำเนินงานต้นแบบองค์กรไร้พุง เพื่อส่งเสริมการดำเนินงานกิจกรรมที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมเป็นการป้องกันโรคอ้วนและการมีสุขภาพที่ดีต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ

ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ บริโภคอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น

70.00 90.00
2 ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด

ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ

60.00 40.00
3 เพื่อสร้างนวัตกรรมคลินิกลดโรคประจำตำบลบาโหย

คลินิก DPAC และมีความพร้อมในการในระดับพื้นฐาน

80.00
4 เพื่ออำนวยความสะดวกให้ผู้เข้ารับบริการเข้าถึงบริการควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ผู้เข้ารับบริการมีความพึงพอใจในระดับ ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

80.00
5 เพื่อสนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ ในการลดน้ำหนัก และทำกิจกรรมร่วมกัน

ผู้เข้ารับบริการมีความพึงพอใจในระดับ ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 16,000.00 1 16,000.00
9 ม.ค. 61 - 8 พ.ค. 61 ประชาสัมพันธ์ให้มีการคัดกรองตรวจคัดกรองเบาหวานและความดัน และนำกลุ่มเสี่ยงมาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบเข้ม ดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง 0 16,000.00 16,000.00
  1. จัดทำและเสนอโครงการรับการอนุมัติและการสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบาโหย
  2. ขอปรับปรุงที่ตั้งคลินิก และจัดหาอุปกรณ์เครื่องมือประจำคลินิก
  3. อบรมเสริมยุทธศาสตร์/ทักษะ/องค์ความรู้ใหม่ แก่เครือข่าย DPAC
  4. ดำเนินกิจกรรมในคลินิก 4.1 จัดบริการปรึกษา สาธิต ประเมินสุขภาพ ในคลินิก (ในหน่วยบริการ) 4.2 ติดตามประเมินผู้ร่วมโครงการในชุมชน 4.3 ป้องกันโรคโดยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชน
  5. ส่งต่อผู้รับบริการในรายที่มีปัญหาไปยังโรงพยาบาลตามขั้นตอนตามระบบการส่งต่อ เพื่อดูแลรักษา และให้คำปรึกษาที่เหมาะสม
  6. ประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับบริการ
    7.รายงานผลการปฏิบัติงาน พร้อมทั้งสรุปผลการดำเนินงานปัญหา และอุปสรรค
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. คลินิก DPAC และมีความพร้อมในการจัดบริการให้แก่ประชาชนทั่วไป กลุ่มเสี่ยง และผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังทั้งในหน่วยบริการและในชุมชน
  2. ผู้เข้ารับบริการเข้าถึงบริการควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้สะดวกและมีความพึงพอใจ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 8 พ.ค. 2561 09:47 น.