กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรวมพลัง รพ.สต.สำนักเอาะ ควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ
รหัสโครงการ 61-L5253-1-12
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสำนักเอาะ
วันที่อนุมัติ 26 เมษายน 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ตุลาคม 2561
งบประมาณ 47,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายเจริญศุกร์ ลาภศิริ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเขาแดง อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.505,100.802place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2233 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของตำบลเขาแดง
56.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อที่ยุงเป็นพาหะในพื้นที่บ้านสำนักเอาะ

จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ยุงเป็นพาหะในพื้นที่บ้านสำนักเอาะ (ไม่เกิน)

5.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 47.00 0 0.00
1 มิ.ย. 61 - 31 ส.ค. 61 พ่นหมอกควัน 0 47.00 -
  1. กิจกรรมที่ 1 ดำเนินการพ่นหมอกควันในโรงเรียนเพื่อทำลายยุงตัวแก่ จำนวน 2 ครั้ง ห่างกัน 1 สัปดาห์
  2. กิจกรรมที่ 2 ดำเนินการพ่นหมอกควันในหมู่บ้านในช่วงที่มีการระบาดของโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ เพื่อทำลายยุงตัวแก่ จำนวน 2 ครั้ง ห่างกัน 1 สัปดาห์
  3. กิจกรรมที่ 3 ให้แกนนำออกดำเนินการควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ เพื่อทำหน้าที่เป็นสื่อกลางในการให้ความรู้ สร้างกระแส และควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ
  4. กิจกรรมที่ 4 ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุง ทั้งทางกายภาพ ทางชีวภาพและทางเคมี
    ทำลายภาชนะน้ำขัง และปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณรอบบ้าน ใส่สารเคมีกำจัดลูกน้ำยุง
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะในพื้นที่หมู่ที่ 5 บ้านสำนักเอาะ ตำบลเขาแดง ลดลง
  2. ความชุกชุมของยุง พาหะนำโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะลดลง
  3. ประชาชนหมู่ที่ 5 บ้านสำนักเอาะ ตำบลเขาแดง มีความรู้ที่ถูกต้อง ตระหนักและให้ความสำคัญในการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะอย่างจริงจังและต่อเนื่อง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 พ.ค. 2561 14:29 น.