กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสตรีสำนักเอาะ ใส่ใจ ต้านภัยมะเร็งปากมดลูก
รหัสโครงการ 61-L5253-1-14
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสำนักเอาะ
วันที่อนุมัติ 26 เมษายน 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2561 - 31 กรกฎาคม 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 31 สิงหาคม 2561
งบประมาณ 22,200.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายเจริญศุกร์ ลาภศิริ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเขาแดง อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.505,100.802place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของหญิงอายุ 40 - 49 ปี บ้านสำนักเอาะ ที่ผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก
0.98

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

20.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 22.00 0 0.00
25 มิ.ย. 61 อบรมเชิงปฏิบัติการ 0 22.00 -
  1. ประชุมวางแผนจัดเตรียมงานโดยกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขทำการสำรวจรายชื่อประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 30 - 60 ปี ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จำนวน 80 คน
  2. ส่งจดหมายถึงรายบุคคลตามรายชื่อที่ได้สำรวจไว้ (รวมถึงวิธีการบอกกล่าวด้วยวาจา และลายลักษณ์อักษร) เพื่อมารับการให้สุขศึกษาในเรื่องมะเร็งปากมดลูก
  3. อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มสตรีอายุ 30 - 60 ปี
  4. ออกหนังสือเชิญสตรีกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 30 - 60 ปี เพื่อมารับการตรวจมะเร็งปากมดลูกในวันและเวลาที่กำหนด ติดตามบ่อยๆ หากกลุ่มเป้าหมายังไม่สามารถมาตามนัดหมายได้ โดยวิธีการเชิงรุกถึงที่บ้านเตือนกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งการได้รับการกระตุ้นเตือนจากผู้นำชุมชน , กำนัน , ผู้ใหญ่บ้าน
  5. ทำการประชาสัมพันธ์ในชุมชน หมู่บ้าน ทางหอกระจายข่าวของหมู่บ้านโดยกลุ่มภาคีเครือข่ายสุขภาพ
  6. ดำเนินการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูกที่ รพ.สต. เป็นวันจันทร์ของทุกสัปดาห์โดยเจ้าหน้าที่ของรพ.สต.สำนักเอาะและเชิญเจ้าหน้าที่จาก รพ.สต.ใกล้เคียงเป็นผู้บริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. สตรีกลุ่มเป้าหมาย ได้รับความรู้ตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
  2. ค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรกได้มากขึ้น ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาอย่างถูกต้อง ต่อเนื่อง และทันท่วงที
  3. อัตราการเกิดโรคในระยะอันตรายลดลง อัตราการป่วยตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมให้น้อยลง
  4. ชุมชนตระหนักและมีส่วนร่วมในการป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 พ.ค. 2561 09:23 น.