กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ หญิงไทยเฝ้าระวังโรคมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก
รหัสโครงการ 61-L8277-1-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคอกช้าง
วันที่อนุมัติ 21 มิถุนายน 2018
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2017 - 1 กันยายน 2018
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 15,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวสุวรรณีนวลเจริญ
พี่เลี้ยงโครงการ นายวันชัย บ่อเงิน
พื้นที่ดำเนินการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคอกช้าง อำเภอธารโต จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 75 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันโรคมะเร็งเต้านมและปากมดลูก เป็นสาเหตุการตายจากโรคมะเร็งของสตรีในประเทศไทย ซึ่งทำให้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ โดยเฉพาะโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับหนึ่งของมะเร็งในสตรี พบได้ถึง 3 คน ในประชากรหนึ่งแสนคน ในแต่ละปีมีผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกเสียชีวิตประมาณ 4500 ราย ส่วนใหญ่มีอายุประมาณ 30-60 ปี ซึ่งทีผ่านมาใช้วิธีการตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยการตรวจ pap smear และหากทำทุก 2 ปี สามารถลดการเป็นมะเร็งระยะลุกลามได้ ร้อยละ 92 ดังนั้นจึงมีความจำเป็นและสำคัญที่ต้องทำการตรวจค้นหามะเร็งในระยะเริ่มต้นสามารถรักษาให้หายขาดได้ และการรักษาอาจทำได้โดยการตัดเฉพาะก้อนมะเร็งออก ไม่จำเป็นต้องผ่าตัด และสามารถรักษาให้หายขาดได้
จากการดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคอกช้างปีพ.ศ. 2559 -2560จำนวน 145 ราย พบความผิดปกติที่ส่งพบแพทย์จำนวนจำนวน3 รายพบป่วยเป็นมะเร็งเต้านม3 รายเสียชีวิต1 ราย สำหรับมะเร็งปากมดลูกพบความผิดปกติจำนวน 2 ราย และป่วยเป็นมะเร็งปากมดลูก - รายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคอกช้าง เห็นความสำคัญในการป้องกันมากกว่าการรักษาโรคโดยเฉพาะการตรวจคัดกรองค้นหาโรคระยะแรกในสตรีกลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นวิธีหนึ่งที่สามารถลดอัตราอุบัติการณ์มะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูกรายใหม่ได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคอกช้าง จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์คัดกรองมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูกขึ้นโดยเน้นการให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคมะเร็งเต้านมและตรวจคัดกรองหาCell มะเร็งปากมดลูกขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อรณรงค์ให้ความรู้โรคมะเร็งเต้านม และโรคมะเร็งปากมดลูกแก่สตรีกลุ่มเป้าหมายในชุนชน

สตรีอายุ 30-70 ปี มีความรู้โรคมะเร็งเต้านม และโรคมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 85

0.00
2 สตรีอายุ 30-70 ปี ตรวจเต้านมด้วยตนเองและผ่านการประเมินทักษะการตรวจเต้านม จากบุคลากรสาธารณสุข

สตรีอายุ 30-60 ปี ตรวจเต้านมด้วยตนเองและผ่านการประเมินทักษะการตรวจเต้านม จากบุคลากรสาธารณสุข ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90

0.00
3 สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพื่อค้นหา Cell ผิดปกติของปากมดลูก

สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพื่อค้นหา Cell ผิดปกติของปากมดลูก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20

0.00
4 สตรีที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาถูกต้องและเร่งด่วน

กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาถูกต้องและเร่งด่วน

0.00
5 เพื่อสร้างแกนนำป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ

แกนนำสามารถป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อได้

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 15,000.00 0 0.00
1 ก.ค. 61 - 1 พ.ค. 61 สำรวจข้อมูลสุขภาพ จัดทำทะเบียนฐานข้อมูล ตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ เยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพ 0 15,000.00 -
  1. จัดทำโครงการขออนุมัติ และขอสนับสนุนงบประมาณ
  2. ประชุมชี้แจงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องรับทราบนโยบายและวัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อให้มีความเข้าใจในแนวเดียวกัน
  3. จัดทำแผนการออกปฏิบัติงานเชิงรุกในการดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูกควบคู่กับมะเร็งเต้านม ประชากร 30 – 70 ปี ในเขต
    รับผิดชอบ
  4. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อขอความร่วมมือและสนับสนุนกิจกรรมการตรวจคัดกรองความเสี่ยงในชุมชน อสม. และภาคี
    เครือข่าย
  5. ประชาสัมพันธ์การคัดกรองความเสี่ยงเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้าร่วมโครงการฯ
  6. จัดเตรียมเอกสาร วัสดุ ครุภัณฑ์ต่างๆ ในการเก็บข้อมูลการคัดกรองความเสี่ยงให้เพียงพอในการดำเนินงาน
  7. ติดต่อวิทยากร อาหารสำหรับการจัดอบรม
  8. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการฯ
  9. ดำเนินงานตามโครงการที่ได้รับอนุมัติ
  10. ประเมินผล สรุปผลการดำเนินงาน
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. สตรีอายุ 30 – 70 ปี มีความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 85
  2. สตรีอายุ 30-60 ปี ตรวจเต้านมด้วยตนเองและผ่านการประเมินทักษะการตรวจเต้านม จากบุคลากรสาธารณสุข ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
  3. สตรีอายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพื่อค้นหา Cell ผิดปกติของปากมดลูก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
  4. กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาถูกต้องและเร่งด่วน
  5. แกนนำสามารถป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 พ.ค. 2018 15:48 น.