กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง


“ โครงการสร้างภูมิคุ้มกันปัญหายาเสพติดในชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล ”

ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสุณีสหับดิน

ชื่อโครงการ โครงการสร้างภูมิคุ้มกันปัญหายาเสพติดในชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L7580-2-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 มิถุนายน 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างภูมิคุ้มกันปัญหายาเสพติดในชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างภูมิคุ้มกันปัญหายาเสพติดในชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างภูมิคุ้มกันปัญหายาเสพติดในชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L7580-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 มิถุนายน 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 73,645.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

แม้ปัญหายาเสพติดในปัจจุบันจะลดระดับความรุนแรงลงอย่างมาก อันเป็นผลจากการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดอย่างต่อเนื่องในหลายช่วงปีที่ผ่านมา แต่จากการเฝ้าระวังยาเสพติด พบว่า เยาวชน เป็นกลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงต่อการเข้ามาเกี่ยวข้องกับยาเสพติดมากที่สุด ทั้งที่เกี่ยวกับปัจจัยของวัย อายุ ประสบการณ์ ความต้องการแสวงหาสิ่งใหม่ๆ ฯลฯ จากข้อมูลบำบัดรักษาในปัจจุบัน เกือบ ๕๐ เปอร์เซ็นต์ ของกลุ่มผู้บำบัดรักษาทั่วประเทศ มีเยาวชนกลุ่มเสี่ยงที่อาจจะมีโอกาสเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดได้ หากไม่มีมาตรการป้องกันเพียงพอ ประมาณ ๕ ล้านคน ในจำนวนนี้ ถือเป็นเยาวชนกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเข้ามาเกี่ยวข้องกับยาเสพติด และประมาณ ๔ แสนคน เป็นเยาวชนทั้งในและนอกสถานศึกษา ดังที่กล่าวมาแล้ว ยาเสพติดยังส่งผลให้เกิดปัญหากับเยาวชนมีหลายมิติ ผสมผสานกัน เช่น ส่งผลทำลายประสิทธิภาพในการเรียนรู้ของเยาวชน ผลกระทบทั้งด้านสภาพร่างกายและความผิดปกติด้านจิตใจ ความคิด ความจำ ปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในกลุ่มเด็กและเยาวชนไทย ซึ่งปัจจัยหนึ่งมาจากการแพร่ระบาดของสื่อที่ไม่เหมาะสมหรือลามกอนาจารผ่านทางสื่อแต่ละประเภท จนทำให้เด็กและเยาวชนไทยซึ่งขาดภูมิคุ้มกันในการบริโภคสื่อ มีการเลียนแบบพฤติกรรมและนำไปสู่ปัญหาดังกล่าว การแก้ไขปัญหาเยาวชน จึงมิใช่การมุ่งแก้ไขปัญหาใดปัญหาหนึ่ง หากต้องดำเนินการครบวงจร ครอบคลุมถึงปัจจัยที่เป็นสาเหตุ ปัจจัย และเงื่อนไข ทั้งที่เป็นบุคคลและเงื่อนไขของสภาพแวดล้อม อีกทั้ง จากสถานการณ์ปัญหาเด็กและเยาวชนในสังคมไทยยุคปัจจุบัน ได้ทวีความรุนแรงสูงมากขึ้นเกือบทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านการมีทัศนคติและพฤติกรรมเบี่ยงเบน เหินห่างศาสนา มีค่านิยมแบบบริโภคนิยมอย่างฟุ่มเฟือย การทะเลาะวิวาท ติดยาเสพติด การเสพสื่อลามกอนาจาร ติดเกมส์ ฯลฯ ซึ่งปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร และขาดความรู้ความเข้าใจในการคุมกำเนิดและป้องกัน ก็เป็นอีกปัญหาหนึ่ง ที่มีแนวโน้มรุนแรงและหนักหน่วงจนน่าตกใจ ชุมชนอนุบาลเมืองสตูล ก็เป็นพื้นที่หนึ่งที่ประสบปัญหาเด็กและเยาวชนเข้าไปพัวพันกับยาเสพติดเนื่องจากมีพื้นที่ที่มีเด็กเยาวชนทั้งในเขตและนอกเขตสามารถใช้เป็นที่มั่วสุมยาเสพติดได้หลายพื้นที่ อีกทั้งการเดินทางสะดวก มีระบบโทรคมนาคมครอบคลุมพื้นที่ สามารถติดต่อสื่อสารอย่างสะดวกรวดเร็ว ความทันสมัยเหล่านี้ทำให้การรวมกลุ่มของเยาวชน การแพร่ระบาดของยาเสพติดในพื้นที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว ชุนชนอนุบาลเมืองสตูล ได้ตระหนักถึงอันตราย และปัญหาของเด็กเยาวชนเป็นอย่างมาก จึงได้จัดทำโครงการสร้างภูมิคุ้มกันปัญหายาเสพติดในชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูลขึ้น เพื่อเป็นการสร้างภูมิคุ้มกัน ทั้งทางด้านความรู้ ความเข้าใจ และความคิดที่จะสามารถนำไปใช้เป็นภูมิคุ้มกันตนเองให้ปฏิเสธ และห่างไกลจากยาเสพติดได้ อนึ่ง การดำเนินงานดังกล่าว จะสามารถแก้ไขปัญหาผลกระทบที่จะตามมา เช่น ปัญหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การเข้าถึงบุหรี่ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม ได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน ผู้ปกครองและอสม. ในเรื่องยาเสพติด
  2. เพื่อให้เด็กและเยาวชน ผู้ปกครองและอสม.ตระหนักถึงอันตรายจากการเสพยาเสพติด และผลกระทบจากยาเสพติด โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การเข้าถึงบุหรี่ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพ จิต สังคม
  3. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีทักษะในการป้องกันตนเองจากยาเสพติดได้อย่างถูกต้อง
  4. เพื่อให้สร้างความสัมพันธ์ระหว่างเด็กและเยาวชน ผู้ปกครองและอสม.

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อภิปรายเรื่องประเภทยาเสพติด แล้วสรุปแผนผังความคิด
  2. กิจกรรมถอดบทเรียนวีดีทัศน์เรื่องสั้นเกี่ยวกับยาเสพติด
  3. กิจกรรมสันทนาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเด็กและเยาวชน ผู้ปกครองและอสม.
  4. อภิปรายเรื่องผลกระทบที่เกิดจากยาเสพติด เช่น โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การเข้าถึงยาสูบ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม แล้วสรุปแผนผังความคิด
  5. อภิปรายแนวทางการสร้างทักษะในการป้องกันตนเองจากยาเสพติด แล้วสรุปแผนผังความคิด
  6. กิจกรรมสันทนาการเตรียมความพร้อม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 25
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กและเยาวชน ผู้ปกครองและอสม. มีความรู้ในเรื่องยาเสพติด และผลกระทบที่เกิดจากยาเสพติด เช่น โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การเข้าถึงยาสูบ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม
  2. เด็กและเยาวชน ผู้ปกครองและอสม. ตระหนักถึงอันตรายจากการเสพยาเสพติด และผลกระทบจากยาเสพติด โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การเข้าถึงยาสูบ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม 3.เด็กและเยาวชนมีทักษะในการป้องกันตนเองจากยาเสพติดได้อย่างถูกต้อง 4.เด็กและเยาวชน ผู้ปกครองและอสม. มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อภิปรายเรื่องประเภทยาเสพติด แล้วสรุปแผนผังความคิด

วันที่ 30 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

อภิปรายเรื่องประเภทยาเสพติด แล้วสรุปแผนผังความคิด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผลการดำเนินงาน กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด จำนวน 45 คนมีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด จำนวน 48 คนคิดเป็นร้อยละ 106.66 1.1 วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 การประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรมให้ความรู้เรื่องยาเสพติด มีจำนวนคำถามทั้งหมด 18 ข้อพบว่ากลุ่มเป้าหมายได้คะแนน ดังนี้ ก่อนการอบรม หลังการอบรม คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ 5 1 2.08 8 1 2.08 6 1 2.08 11 1 2.08 7 1 2.08 13 4 8.33 9 1 2.08 14 1 2.08 10 1 2.08 15 6 12.5 11 3 6.25 16 15 31.25 12 4 8.33 17 11 22.92 13 12 25 18 9 18.75 14 6 12.5
15 6 12.5
16 4 8.33
17 8 16.67
รวม 48 99.98 รวม 48 99.99 จากตารางประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม พบว่า ก่อนการอบรม กลุ่มเป้าหมายได้คะแนนสูงสุดที่ 17 คะแนน จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 รองลงมา 16 คะแนน จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 8.33และได้คะแนนน้อยที่สุดที่ 5 คะแนน จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.08หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายได้คะแนนสูงสุดที่ 18 คะแนน จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 18.75 รองลงมา 17 คะแนน จำนวน 1 คน
คิดเป็นร้อยละ 22.92และได้คะแนนน้อยที่สุดที่ 8 คะแนน จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.08 เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้นจำนวน 44 คน คิดเป็น ร้อยละ 91.67และมีความรู้เท่าเดิม จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 8.33

 

45 0

2. กิจกรรมสันทนาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเด็กและเยาวชน ผู้ปกครองและอสม.

วันที่ 30 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  กิจกรรมสันทนาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเด็กและเยาวชน ผู้ปกครองและอสม.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการเข้าร่วมกิจกรรมสันทนาการสร้างความสัมพันธ์ พบว่า กลุ่มเป้าหมายมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ให้ความร่วมมือที่ดีในการทำกิจกรรม มีการแสดงความคิดเห็นร่วมกันทุกคน กล้าที่จะพูดข้อดีและข้อบกพร่องของตัวเองใหผู้อื่นทราบ ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นอย่างเต็มใจ รู้จักการเสียสละแบ่งปัน ให้อภัยซึ่งกันและกัน เข้าใจถึงความต้องการของแต่ละคน รวมทั้งเกิดความสนุกสนาน เกิดรอยยิ้มที่จริงใจในการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ

 

45 0

3. กิจกรรมถอดบทเรียนวีดีทัศน์เรื่องสั้นเกี่ยวกับยาเสพติด

วันที่ 30 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  กิจกรรมถอดบทเรียนวีดีทัศน์เรื่องสั้นเกี่ยวกับยาเสพติด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการดูวีดีทัศน์เรื่องสั้นเกี่ยวกับยาเสพติดพบว่า กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถอธิบายถึงอันตรายและผลกระทบของยาเสพติดต่อตนเองและร่างกาย ต่อครอบครัว ต่อสังคมและต่อประเทศชาติได้ สามารถสรุปได้ดังนี้ ผลกระทบต่อตนเอง - ทำให้ร่างกายทรุดโทรม/ซึมเศร้า เกิดความเจ็บป่วย/เป็นโรคติดต่อ ทำให้จิตใจวิตกกังวล ไม่มีสติสัมปชัญญะขาดความมั่นใจ ก่อให้เกิดอาการคลุ้มคลั่งทำร้ายร่างกายตนเองและผู้อื่นได้ ผลกระทบต่อสังคม - ทำลายเยาวชน ทำให้เกิดปัญหาอาชญากรรม/เกิดอุบัติเหตุต่างๆ นำไปสู่โรคติดต่อร้ายแรง เป็นที่รังเกียจของสังคม เป็นบ่อเกิดให้สังคมเสื่อมโทรม ทำให้การพัฒนาสังคมเป็นไปได้อย่างล่าช้า เพิ่มภาระหน้าที่ให้กับสังคมมากขึ้น ผลกระทบต่อครอบครัว - ทำให้ครอบครัวไม่มีความสุช ขาดความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ขาดความสามัคคี เกิดความ ห่างเหินในครอบครัวเกิดความแตกแยกในครอบครัว ครอบครัวได้รับความเดือดร้อน สูญเสียรายได้ เป็นการสิ้นเปลืองโดยใช่เหตุทำลายชื่อเสียงของครอบครัว ทำให้ผู้อื่นพูดในทางที่ไม่ดี ผลกระทบต่อประเทศชาติ -ส่งผลให้การพัฒนาประเทศชาติล่าช้า เสื่อมเสียชื่อเสียง สิ้นเปลืองงบประมาณของรัฐบาลในการบำบัดรักษาผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด อาจส่งผลทำให้เพิ่มภาระการเสียภาษีของประชาชนเพิ่มขึ้น ส่งผลให้พลเมืองขาดคุณภาพ ก่อให้เกิดปัญหาอาชญากรรมมากขึ้น

 

45 0

4. อภิปรายแนวทางการสร้างทักษะในการป้องกันตนเองจากยาเสพติด แล้วสรุปแผนผังความคิด

วันที่ 1 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

อภิปรายแนวทางการสร้างทักษะในการป้องกันตนเองจากยาเสพติด แล้วสรุปแผนผังความคิด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจถึงทักษะในการป้องกันตนเองจากยาเสพติดได้อย่างถูกต้อง ซึ่งดูจากแผนผังความคิดที่แต่ละกลุ่มได้แสดงความคิดเห็น ทั้งทักษะการป้องกันตนเอง ทักษะการป้องกันครอบครัว และทักษะการป้องกันสังคม ได้ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ฉลุง 48 ได้แสดงความคิดเห็น ดังนี้ ทักษะการป้องกันตนเอง : ไม่อยากรู้อยากลองยาเสพติด เลือกคบเพื่อนที่ดี รู้จักแก้ปัญหาในทางที่ถูกต้อง และรู้จักปฏิเสธเมื่อเพื่อชักชวน ทักษะการป้องกันครอบครัว : สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว โดยทำกิจกรรมร่วมกันเมื่อมีโอกาส รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง และเมื่อมีปัญหาให้หันหน้าคุยกันเพื่อร่วมแก้ปัญหาด้วยกัน ทักษะการป้องกันสังคม :ศึกษาหาความรู้ ติดตามข่าวสาร โดยมีอาสาสมัครเผยแพร่ความรู้เรื่องยาเสพติด พร้อมช่วยกันสอดส่องดูแล แจ้งข่าวเรื่องยาเสพติด แนะนำผู้เสพยาเสพติดไปบำบัด และจัดตั้งกลุ่มอาสาสมัครป้องกันยาเสพติดในชุมชน กลุ่มที่ 2 โลกสวยด้วยตัวเรา ได้แสดงความคิดเห็น ดังนี้ ทักษะการป้องกันตนเอง :ศึกษาหาความรู้เพื่อเป็นการป้องกันตนเองจากยาเสพติด ไม่คิดทดลองสิ่งที่คิดว่ามีภัยต่อตนเอง ไม่มั่วสุมกับผู้ติดสารเสพติด รู้จักเลือกคบเพื่อนที่ดี และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ทักษะการป้องกันครอบครัว :ดูแลสมาชิกในครอบครัวให้เท่าเทียมกัน เอาใจใส่ ให้ความรักความอบอุ่น และปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของตนเอง ทักษะการป้องกันสังคม :จัดตั้งกลุ่มรับแจ้งเบาะแสเกี่ยวกับยาเสพติด เมื่อพบว่ามีการซื้อขาย ให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนอย่างทั่วถึง และเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆในชุมชน กลุ่มที่ 3 ติ๊กต๊อก ได้แสดงความคิดเห็น ดังนี้ ทักษะการป้องกันตนเอง :เข้าร่วมอบรมเกี่ยวกับยาเสพติด เลือกคบเพื่อนที่ดี รู้จักการปฏิเสธทุกครั้งเมื่อเพื่อนชวน และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ทักษะการป้องกันครอบครัว :สร้างความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว พูดจาสุภาพ สามัคคี รู้จักตักเตือน ให้อภัยต่อกัน และแสดงพฤติกรรมที่ดี ทักษะการป้องกันสังคม :ศึกษาความรู้เกี่ยวกับยาเสพติด ติดตามข่าวสาร ช่วยกันเผยแพร่ความรู้ยาเสพติดอย่างทั่วถึง และร่วมเป็นจิตอาสาร่วมกิจกรรมต่างๆ กลุ่มที่ 4 Set หม้อ ได้แสดงความคิดเห็น ดังนี้ ทักษะการป้องกันตนเอง : หลีกเลี่ยงจากกลุ่มเสื่ยง โดยการเลือกคบเพื่อนที่ดี รู้จักการปฏิเสธ รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง และรู้จักแก้ไขปัญหาไปในทางที่ถูกต้อง ทักษะการป้องกันครอบครัว : สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว ให้ความรัก ดูแลเอาใจใส่ ให้โอกาส ให้อภัย ใช้เวลาอยู่กับคนในครอบครัวให้มากๆ และสามารถเป็นที่ปรึกษาให้กับคนในครอบครัวได้ทุกเรื่อง ทักษะการป้องกันสังคม: เป็นผู้ให้ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดให้กับชุมชน ร่วมเป็นหูเป็นตา ให้ความร่วมมือกับชุมชน พร้อมทั้งรวมตัวเป็นจิตอาสา ร่วมกิจกรรม ทำความดีให้กับสังคม

 

45 0

5. กิจกรรมสันทนาการเตรียมความพร้อม

วันที่ 1 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  กิจกรรมสันทนาการเตรียมความพร้อม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการเข้าร่วมกิจกรรมสันทนาการเตรียมความพร้อม พบว่ากลุ่มเป้าหมายให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมร่วมกันเป็นอย่างดี

 

45 0

6. อภิปรายเรื่องผลกระทบที่เกิดจากยาเสพติด เช่น โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การเข้าถึงยาสูบ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม แล้วสรุปแผนผังความคิด

วันที่ 1 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

อภิปรายเรื่องผลกระทบที่เกิดจากยาเสพติด เช่น โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การเข้าถึงยาสูบ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม แล้วสรุปแผนผังความคิด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากแผนผังความคิดเรื่องอันตรายและผลกระทบของยาเสพติด พบว่า กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถอธิบายถึงอันตรายและผลกระทบของยาเสพติดต่อตนเองและร่างกาย ต่อครอบครัว ต่อสังคมและต่อประเทศชาติ สรุปได้ดังนี้ ผลกระทบต่อตนเอง - ทำให้ร่างกายทรุดโทรม/ซึมเศร้า เกิดความเจ็บป่วย/เป็นโรคติดต่อ ทำให้จิตใจวิตกกังวล ไม่มีสติสัมปชัญญะขาดความมั่นใจ ก่อให้เกิดอาการคลุ้มคลั่งทำร้ายร่างกายตนเองและผู้อื่นได้ ผลกระทบต่อสังคม - ทำลายเยาวชน ทำให้เกิดปัญหาอาชญากรรม/เกิดอุบัติเหตุต่างๆ นำไปสู่โรคติดต่อร้ายแรง เป็นที่รังเกียจของสังคม เป็นบ่อเกิดให้สังคมเสื่อมโทรม ทำให้การพัฒนาสังคมเป็นไปได้อย่างล่าช้า เพิ่มภาระหน้าที่ให้กับสังคมมากขึ้น ผลกระทบต่อครอบครัว - ทำให้ครอบครัวไม่มีความสุช ขาดความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ขาดความสามัคคี เกิดความ ห่างเหินในครอบครัวเกิดความแตกแยกในครอบครัว ครอบครัวได้รับความเดือดร้อน สูญเสียรายได้ เป็นการสิ้นเปลืองโดยใช่เหตุทำลายชื่อเสียงของครอบครัว ทำให้ผู้อื่นพูดในทางที่ไม่ดี ผลกระทบต่อประเทศชาติ -ส่งผลให้การพัฒนาประเทศชาติล่าช้า เสื่อมเสียชื่อเสียง สิ้นเปลืองงบประมาณของรัฐบาลในการบำบัดรักษาผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด อาจส่งผลทำให้เพิ่มภาระการเสียภาษีของประชาชนเพิ่มขึ้น ส่งผลให้พลเมืองขาดคุณภาพ ก่อให้เกิดปัญหาอาชญากรรมมากขึ้น นอกจากนี้จากการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรมเรื่องอันตรายและผลกระทบของยาเสพติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การเข้าถึงยาสูบ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคมจำนวนคำถามทั้งหมด 20 ข้อพบว่ากลุ่มเป้าหมายได้คะแนน ดังนี้

ก่อนการอบรม หลังการอบรม คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ 7 1 2.08 11 1 2.08 8 2 4.17 12 1 2.08 9 2 4.17 13 1 2.08 10 1 2.08 14 1 2.08 11 3 6.25 15 2 4.17 12 2 4.17 16 3 6.25 13 4 8.33 17 7 14.58 14 3 6.25 18 9 18.75 15 2 4.17 19 5 10.42 16 3 6.25 20 18 37.5 17 8 16.67
18 5 10.42
19 6 12.5
20 6 12.5
รวม 48 100 รวม 48 99.99
จากตารางประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม พบว่า ก่อนการอบรม กลุ่มเป้าหมายได้คะแนนสูงสุดที่ 20 คะแนน จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 12.5 รองลงมา 19 คะแนน จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 12.5 และได้คะแนนน้อยที่สุดที่ 7 คะแนน จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.08หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายได้คะแนนสูงสุดที่ 20 คะแนน จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 37.5 รองลงมา 19 คะแนน จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 10.42และได้คะแนนน้อยที่สุดที่ 11 คะแนน จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 2.08 เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้นจำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 และมีความรู้เท่าเดิม จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 16.66

 

45 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน ผู้ปกครองและอสม. ในเรื่องยาเสพติด
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชน ผู้ปกครองและอสม. มีความรู้ในเรื่องยาเสพติด ร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อให้เด็กและเยาวชน ผู้ปกครองและอสม.ตระหนักถึงอันตรายจากการเสพยาเสพติด และผลกระทบจากยาเสพติด โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การเข้าถึงบุหรี่ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพ จิต สังคม
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชน ผู้ปกครองและอสม. ตระหนักถึงอันตรายจากการเสพยาเสพติด และผลกระทบจากยาเสพติด โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การเข้าถึงยาสูบ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม ร้อยละ 80
0.00

 

3 เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีทักษะในการป้องกันตนเองจากยาเสพติดได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนมีทักษะในการป้องกันตนเองจากยาเสพติดได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 80
0.00

 

4 เพื่อให้สร้างความสัมพันธ์ระหว่างเด็กและเยาวชน ผู้ปกครองและอสม.
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชน ผู้ปกครองและอสม. มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 25
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน ผู้ปกครองและอสม. ในเรื่องยาเสพติด (2) เพื่อให้เด็กและเยาวชน ผู้ปกครองและอสม.ตระหนักถึงอันตรายจากการเสพยาเสพติด และผลกระทบจากยาเสพติด โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การเข้าถึงบุหรี่ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพ จิต สังคม (3) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีทักษะในการป้องกันตนเองจากยาเสพติดได้อย่างถูกต้อง (4) เพื่อให้สร้างความสัมพันธ์ระหว่างเด็กและเยาวชน ผู้ปกครองและอสม.

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อภิปรายเรื่องประเภทยาเสพติด แล้วสรุปแผนผังความคิด (2)                กิจกรรมถอดบทเรียนวีดีทัศน์เรื่องสั้นเกี่ยวกับยาเสพติด (3)                กิจกรรมสันทนาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเด็กและเยาวชน ผู้ปกครองและอสม. (4)      อภิปรายเรื่องผลกระทบที่เกิดจากยาเสพติด เช่น โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การเข้าถึงยาสูบ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม แล้วสรุปแผนผังความคิด (5) อภิปรายแนวทางการสร้างทักษะในการป้องกันตนเองจากยาเสพติด แล้วสรุปแผนผังความคิด (6)      กิจกรรมสันทนาการเตรียมความพร้อม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการสร้างภูมิคุ้มกันปัญหายาเสพติดในชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล

รหัสโครงการ 61-L7580-2-02 ระยะเวลาโครงการ 20 มิถุนายน 2561 - 31 สิงหาคม 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการสร้างภูมิคุ้มกันปัญหายาเสพติดในชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L7580-2-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุณีสหับดิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด