กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพภาคี สู่วิถีสุขภาพเชิงรุก
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อ.ส.ม. ศูนย์สุขภาพบ้านลางา
วันที่อนุมัติ 22 พฤษภาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 36,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายเปารี ด่าโอะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.901,100.742place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ภาคีเครือข่ายมีความสำคัญต่อเส้นทางการขับเคลื่อนระบบสุขภาพของชุมชน การพัฒนาภาคีเครือข่ายให้มีความเข้มแข็งจึงมีความสำคัญเพื่อให้มีความรู้ในการบริหารจัดการและแก้ปัญหาสุขภาพของชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพจากการดำเนินงานที่ผ่านมา จะเห็นได้ว่าปัญหาต่างๆของสุขภาพจะไม่สามารถแก้ไขได้สำเร็จโดยไม่มีภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วม เช่น ไข้เลือดออกโรคเรื้อรังเบาหวานความดันโลหิตสูง หรือแม้แต่ปัญหาขยะและสิ่งแวดล้อม ก็ต้องอาศัยภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมทั้งสิ้น จากเหตุผลดังกล่าว ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ศูนย์สุขภาพชุมชนบ้านลางา จึงได้จัดทำโครงการ พัฒนาศักยภาพภาคี สู่วิถีสุขภาพเชิงรุก ขึ้นโดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา ประจำปี 2561

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑. ภาคีเครือข่ายมีความรู้และสามารถแก้ปัญหาสุขภาพได้

๑. ภาคีเครือข่ายมีความรู้และสามารถแก้ปัญหาสุขภาพได้  มากกว่าร้อยละ ๘๐

0.00
2 ๒. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชน

๒. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชน มากกว่าร้อยละ ๘๐

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 36,600.00 2 36,600.00
1 มิ.ย. 61 - 30 ก.ย. 61 กิจกรรมที่ ๑ ประชาสัมพันธ์โครงการและจัดสถานที่ในการดำเนินโครงการ 0 9,000.00 9,000.00
1 มิ.ย. 61 - 30 ก.ย. 61 กิจกรรมที่ ๒ อบรมให้ความรู้แก่ภาคีเครือข่าย 0 27,600.00 27,600.00

ขั้นเตรียมการ ๑. ประชุมปรึกษาในการจัดทำโครงการ ๒. จัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ ๓. ประชุมชี้แจง/ประสานงานกับผู้เกี่ยวข้องและติดต่อวิทยากร ๔. จัดเตรียมวัสดุ,อุปกรณ์และสถานที่ ขั้นดำเนินการ ๑. ประชาสัมพันธ์โครงการ ๒. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการ ๓. ประเมินความรู้ก่อนและหลังการอบรม ๔. ให้ความรู้เรื่อง - บทบาทของภาคีเครือข่ายในการสร้างสุขภาพเชิงรุก - กลไกเพื่อความเป็นเครือข่ายสุขภาพ
๕. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การบริหารจัดการระบบสุขภาพแบบบูรณาการ ๖. วิเคราะห์และประเมินผลโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ภาคีเครือข่ายได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพของชุมชน ๒. ภาคีเครือข่ายมีขวัญกำลังใจและมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการสร้างสุขภาวะของคนในชุมชนต่อไป ๓. ประชาชนเกิดความรักและเป็นเจ้าของในการดูแลสุขภาพของตนเองและชุมชน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 พ.ค. 2561 09:42 น.