กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมเฝ้าระวังโภชนาการในเด็กตำบลบาลอ
รหัสโครงการ 61-L8413-02-07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ เทศบาลตำบลบาลอ
วันที่อนุมัติ 15 มกราคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2561 - 31 สิงหาคม 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2561
งบประมาณ 32,900.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางดียานา ประจงไสย
พี่เลี้ยงโครงการ นายรูสลาม สาร๊ะ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.448,101.445place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 5 มิ.ย. 2561 5 มิ.ย. 2561 32,900.00
รวมงบประมาณ 32,900.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ
10.00
2 ร้อยละของเด็ก 0-6 เดือนที่กินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน
5.00
3 ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ
5.00
4 ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม
2.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากการประเมินผลการเฝ้าระวังทางภาวะโภชนาการเด็ก (๐-5 ปี) ในพื้นที่รับผิดชอบของตำบลบาลอ งวดที่ ๑ (ตุลาคม 60 – ธันวาคม 60)พบว่าเด็กก่อนวัยเรียน มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 11.58มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุขกำหนดให้มีไม่เกินร้อยละ ๗ ซึ่งเด็กในวัยดังกล่าวกำลังมีการเจริญ เติบโตของสมอง สารอาหารโปรตีนมีความสำคัญต่อการพัฒนาด้านสมองหากไม่ได้รับการแก้ไขปัญหา จะส่งผลกระทบต่อพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสติปัญญาของเด็ก ซึ่งจะเป็นกำลังของประเทศชาติในอนาคต สาเหตุของปัญหาส่วนหนึ่งเกิดจากการขาดความรู้ด้านโภชนศึกษาของผู้ปกครอง เป็นผลให้เด็ก๐ - 5 ปี ได้รับสารอาหารไม่ครบถ้วนและมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ในการดำเนินการที่ผ่านมา เจ้าหน้าที่ได้มีการติดตามเยี่ยมผู้ปกครอง แต่การเรียนรู้อย่างเป็นระบบ เป็นเรื่องที่ยังมีความจำเป็น เพื่อเป็นการลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็ก ๐ - 5 ปี ในเขตรับผิดชอบ ทางเทศบาลตำบลบาลอ อาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติเทศบาลพ.ศ.2496แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่13)พ.ศ.2552 มาตรา50ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายเทศบาลตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตเทศบาล(7) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ จึงจัดทำโครงการส่งเสริมเฝ้าระวังโภชนาการในเด็กตำบลบาลอขึ้น เพื่อขอสนับสนุนงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ

ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ บริโภคอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น

10.00 50.00
2 ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด

ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ

5.00 20.00
3 เพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน

ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม เพิ่มขึ้นเป็น

2.00 50.00
4 เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กแรกเกิด – 5 ปี จัดการให้เด็กได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอ

ร้อยละภาวะทุพโภชนาการในเด็กแรกเกิด – 5 ปี ลดลง

80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 40.00 2 32,900.00
25 - 26 ก.ค. 61 กิจกรรมการอบรมให้ความรู้ 0 20.00 20,800.00
25 - 26 ก.ค. 61 กิจกรรมจัดนิทรรศการและสาธิตตัวอย่างเมนูอาหาร 0 20.00 12,100.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กแรกเกิด – 5 ปี ลดลง ๒. ผู้ปกครองและผู้เลี้ยงดูเด็กมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด – 5 ปี

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 มิ.ย. 2561 16:24 น.