กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการครัวอาหารศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด
รหัสโครงการ 61-L2971-3-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด (ตาดีกา) อัตตัรบียะห์อิสลามียะห์
วันที่อนุมัติ 28 มีนาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2561 - 28 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 28 กันยายน 2561
งบประมาณ 24,180.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอดิเรกกามะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.57,101.556place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 154 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ
100.00
2 ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน
100.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เด็ก ๆ เห็นความสำคัญของการกินอาหารครบทั้ง 5 หมู่ที่ปลอดสารพิษ

เด็กมีสุขภาพแข็งแรง สามารถกินอาหารที่ปลอดสารพิษครบ 100 %

100.00
2 ฝึกให้เด็กมีความรับผิดชอบต่อตัวเอง

1.  เด็ก ๆ มีการปลูก ดูแล พืชผักด้วยตัวเอง 2.  เด็ก ๆ มีการจัดเวรเพื่อให้ทุกคนมีความรับผิดชอบให้ครบ 

100.00
3 เปิดโอกาสให้เด็กยากจน และเด็กกำพร้ามีอาหารที่มีประโยชน์กินทุกอาทิตย์

1.  เด็กกำพร้า 10 คน มีอาหารกินครบ
2.  เด็กยากจน 10 คน มีอาหารเที่ยงกินครบ

100.00
4 ฝึกให้เด็กมีวินัยต่อตนเอง มีความเสียสละต่อส่วนรวม และให้ความสำคัญกับอาหารการกินที่มีประโยชน์

เด็กทุกคจะต้องรับผิดชอบเวรในการดูแลพืชผักที่ปลูก และสัตว์เลี้ยง พร้อมทั้งมีครูพี่เลี้ยงช่วยแนะนำ และชี้แจงประโยชน์ของพืชผักต่าง ๆ ครบ

100.00
5 ฝึกให้เด็กมีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการปฏิบัติจริง

เด็กจะเริ่มทำงานเพาะปลูกตั้งแต่เริ่มต้น เช่น การเตรียมดิน เตรียมปุ๋ย ตลอดจนดูแลกำจัดวัชพืชด้วยตัวเอง ครบทุกคน

100.00
6 ฝึกให้เด็กรู้โทษของการกินผักที่ปนเปื้อนสารพิษ

เด็กจะไม่ใช้ยากำจัดศัตรูพืชที่มีสารพิษ โดยใช้ปุ๋ยชีวภาพ และสมุนไพรกำจัดศัตรูพืชครบ

100.00
7 สร้างเป็นศูนย์เรียนรู้ให้กับผู้ปกครองของเด็กเพื่อกลับไปทำที่บ้านทุกครัวเรือน

ผู้ปกครองของเด็กทุกคนมีการปลูกผัก และสอนลูกให้ปลูกที่บ้าน เพื่อกินเองโดยไม่ใช้สารพิษครบทุกครัวเรือน

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 24,180.00 1 24,180.00
1 ก.ค. 61 - 20 ก.ย. 61 ซื้อวัสดุอุปกรณ์ 0 24,180.00 24,180.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กสามารถกินอาหารกลางวันที่ปลอดภัยจากสารพิษ 2.เด็กสามารถกินอาหารครบ 5 หมู่ถูกตามหลักโภชนาการ 3.ทำให้เด็กมีสุขภาพดีขึ้น 4.ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงแนวคิดในการรับประทานอาหารมากยิ่งขึ้น 5.ทำให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาด้านสมองมากยิ่งขึ้น 6.เด็กสามารถปรับความรู้สึกด้านจิตใจ อารมณ์ในการอยู่ร่วมกันในทางที่ดีขึ้น 7.ทำให้เกิดการสร้างภูมิคุ้มกันของโรค ที่อาจจะเกิดต่อร่างกายดียิ่งขึ้น 8.ทำให้เกิดการสร้างแรงจูงใจต่อสังคม ในการรักษาสุขภาพมากยิ่งขึ้น 9.ทำให้เกิดแรงจูงใจต่อสังคม ผู้ปกครอง ในความจำเป็นในการกินอาหารปลอดสารพิษ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 มิ.ย. 2561 10:43 น.