กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงวัยเจริญพันธุ์ (การป้องกันความพิการแต่กำเนิด)
รหัสโครงการ 60-L3355-1-1
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านน้ำเลือด
วันที่อนุมัติ 11 มกราคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 3 ตุลาคม 2559 - 29 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 13,040.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ รพ.สต.บ้านน้ำเลือด
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่ามิหรำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.589,100.05place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 106 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

ระบุ

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การเตรียมพร้อมก่อนแต่งงานและก่อนมีบุตรมีความสำคัญต่อการป้องกันความพิการแต่กำเนิด ซึ่งความพิการแต่กำเนิดสามารถป้องกันได้ หากมีการเตรียมความพร้อมที่ดี การใช้โฟเลตในหญิงวัยเจริญพันธ์ุเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นมากถึงแม้สาเหตุของความพิการแต่กำเนิดมีหลายปัจจัยและบางปัจจัยอาจเหนือการควบคุมแต่ก็สามารถป้องกันได้ทั้งการตรวจร่างกายก่อนตั้งครรภ์ และรับประทานอาหารที่ดี หากทราบหลังการตั้งครรภ์แล้วไม่สามารถแก้ไขได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ได้รับความรู้ เกี่ยวกับโฟเลตและป้องกันความพิการแต่กำเนิด

เด็กทารกไม่มีภาวะพิการแต่กำเนิด

2 เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์ุได้รับกรดโฟลิกเสริมสัปดาห์ละ 1 ครั้ง

หญิงวัยเจริญพันธ์ได้รับกรดโฟลิกต่อเนื่อง

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.รวบรวมข้อมูลหญิงวัยเจริญพันธ์ุทั้งหมด 2.ประชุมเจ้าหน้าที่ และอาสาสมัครสาธารณสุขชึ้แจงรายละเอียดและความจำเป็นของการทำโครงการ 3.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติดำเนินการ 4.จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโฟเลตและการป้องกันความพิการแต่กำเนิด 5.อสม.ดำเนินการจ่ายกรดโฟลิกแก่กลุ่มหญิงวัยเจริญพันธุ์ในเขตรับผิดชอบสัปดาห์ละ 1 ครั้งพร้อมบันทึกลงในแบบฟอร์มการจ่ายทุกครั้ง

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.หญิงวัยเจริญพันธ์ุได้รับกรดโฟลิกต่อเนื่อง และมีความรู้ในการเลือกรับประทานอาหารที่มีโฟเลตสูง 2.เด็กทารกไม่มีภาวะพิการแต่กำเนิด

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 ก.พ. 2560 13:13 น.