กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน


“ โครงการคัดกรอง ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ ลดการเกิดโรคเรื้อรังประจำปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายพิธชัย เรืองติก

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรอง ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ ลดการเกิดโรคเรื้อรังประจำปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5294-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรอง ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ ลดการเกิดโรคเรื้อรังประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรอง ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ ลดการเกิดโรคเรื้อรังประจำปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรอง ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ ลดการเกิดโรคเรื้อรังประจำปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5294-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,134.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบัน ทั่วโลกให้ความสำคัญกับการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมากขึ้น เนื่องจากสภาวะความเป็นอยู่และวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป ทำให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีจำนวนเพิ่มขึ้น จากรายงานสถิติสุขภาพทั่วโลก ปี พ.ศ.2544 ขององค์การอนามัยโลกพบว่า 1 ใน 10 ของประชาชนในวัยผู้ใหญ่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน และ 1 ใน 3 มีภาวะความดันโลหิตสูง นอกจากนี้ พบว่าประมาณร้อยละ 63 ของการเสียชีวิตทั้งหมดทั่วโลก เกิดจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สำหรับประเทศไทย รายงานจากการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พ.ศ.2541-2552 พบความชุกของโรคเบาหวานในประชาไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 6.9 ทั้งนี้พบว่าหนึ่งในสามของผู้ที่เป็นเบาหวานไม่เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานมาก่อน และมีผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานแต่ไม่ได้รับการรักษา คิดเป็นร้อยละ 3.3 สำหรับความชุกของโรคความดันโลหิตสูงในประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป พบร้อยละ 21.4 โดยพบว่าร้อยละ 60 ในชาย และร้อยละ 40 ในหญิง ไม่เคยได้รับการวินิจฉัยมาก่อน และร้อยละ 8-9 ได้รับการวินิจฉัยแต่ไม่ได้รับการรักษาทั้งนี้สถิติจากประเทศต่างๆ พบว่าผู้ป่วยความดันโลหิตสูงส่วนใหญ่ยังไม่สามารถควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม กระทรวงสาธารณสุข และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จึงมีมาตรการเชิงรุกในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรค Metabolic โดยมีการคัดกรองพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค ในกลุ่มเป้าหมายคือ ประชากรกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไปทุกราย ด้วยการสัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถาม (Verbal Screening) การวัดความดันโลหิต การชั่งน้ำหนัก วัดความสูง และการวัดเส้นรอบพุง เพื่อค้นหาพฤติกรรมเสี่ยง และค้นหาโรคในระยะเริ่มต้น กลุ่มเสี่ยงต้องได้รับการตรวจยืนยันความเสี่ยงต่อโรค Metabolic โดยบุคลากรสาธารณสุข เพื่อที่จะมีการดำเนินการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ส่วนกลุ่มที่สงสัยจะเป็นโรคก็ส่งไปรับการรักษาตั้งแต่เริ่มแรกทุกราย ซึ่งจะช่วยลดความรุนแรงของโรคในรายที่ป่วยแล้ว และกำหนดให้มีการบันทึกข้อมูลลงตามโปรแกรมคัดกรองความเสี่ยงโรค Metabolic ปี 2559 ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติด้วย สถานการณ์โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาทอน ปี 2560และปี 2561 พบว่า มีผู้ป่วยดังนี้ โรคเบาหวาน จำนวน 114 , 119ราย โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 400 , 395ราย ตามลำดับจะเห็นได้ว่ามีจำนวนผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น และมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาทอน จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ ลดการเกิดโรคเรื้อรัง ในประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป เพื่อให้การดำเนินงานตรวจคัดกรองความเสี่ยง บรรลุตามตัวชี้วัด เป็นการค้นหากลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังได้รับการเปลี่ยนพฤติกรรม เข้าใจหลักการดำเนินชีวิตที่ปลอดภัยจากโรคเรื้อรัง สามารถนำไปใช้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองและครอบครัวกลุ่มผู้ป่วยได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาที่ถูกต้อง เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น และลดปัญหาค่าใช้จ่ายที่ต้องเป็นภาระตลอดไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ ข้อที่1.เพื่อประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ก่อนการคัดกรอง
  2. ข้อที่2.เพื่อประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง ความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
  3. ข้อที่3.เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ.2ส.1ฟ. ได้
  4. ข้อที่4.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรม 3อ.2ส.1ฟ. ที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. คัดกรอง ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ ลดการเพิดโรคเรื้อรัง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง ความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิต
2.ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิต ได้รับการขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. คัดกรอง ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ ลดการเพิดโรคเรื้อรัง

วันที่ 26 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมชี้แจงโครงการแก่ จนท.และอสม.
2.ประชาสัมพันธ์โครงการในพื้นที่ ม.1, ม.2, ม.3, ม.6 และ ม.7 ต.นาทอน
3.จัดบอร์ดความรู้แก่ผู้ที่เข้ามารับบริการ
4.อบรมให้ความรู้ก่อนการคัดกรอง
5.คัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิต ประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้น
6.จัดอบรมให้ความรู้เรื่องโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิต แก่ประชาชนในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาทอน จำนวน 100 คน เรื่องดังต่อไปนี้
- ความหมายของโรค
- การปฏิบัติตัวและการดูแลตนเอง 3อ.2ส.1ฟ.
- การป้องกันการเจ็บป่วย
7.สรุปและรวบรวมผลการดำเนินงาน
รายลละเอียดงบประมาณ
-ค่าวัสดุอุปกรณ์ เป็นเงิน 500 บาท
-ค่าอาหารว่างของผู้เข้าอบรมก่อนตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดัน จำนวน 100 คนๆละ 15 บาท จำนวน 5 หมู่ เป็นเงิน 7500 บาท
-ค่าวัสดุอุปกรณ์ 1000 บาท
-ค่าเครื่องตรวจน้ำตาลปลายนิ้ว 4 เครื่อง ๆละ 1200 บาท เป็นเงิน 4800 บาท
-ค่านวัตถกรรม แถบสีสื่อสารสุขภาพ เป็นเงิน 834 บาท
-ค่าอาหารกลางวันและอาหารว่างของผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 100 คนๆละ 100 บาท เป็นเงิน 10000 บาท
-ค่าเอกสารความรู้ เป็นเงิน 500 บาท
-ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม เป็นเงิน 500 บาท
-ค่าป้ายโครงการ เป็นเงิน 500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 วัตถุประสงค์ ข้อที่1.เพื่อประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ก่อนการคัดกรอง
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ และให้ความร่วมมือในการคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
90.00

 

2 ข้อที่2.เพื่อประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง ความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ร้อยละ 90
90.00

 

3 ข้อที่3.เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ.2ส.1ฟ. ได้
ตัวชี้วัด :
90.00

 

4 ข้อที่4.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรม 3อ.2ส.1ฟ. ที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่1.เพื่อประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ก่อนการคัดกรอง  (2) ข้อที่2.เพื่อประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง ความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง  (3) ข้อที่3.เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ.2ส.1ฟ. ได้  (4) ข้อที่4.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรม 3อ.2ส.1ฟ. ที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรอง ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ ลดการเพิดโรคเรื้อรัง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรอง ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ ลดการเกิดโรคเรื้อรังประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5294-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายพิธชัย เรืองติก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด